ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Oohlanla (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 5:
อนึ่ง เหตุผลในการยุบสภานั้น หาได้มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดบัญญัติไว้ไม่ ดังนี้ จึงเป็นไปตามประเพณีการปกครองตลอดจนสภาวการณ์ของประเทศในขณะนั้น อาทิ เกิดความขัดแย้งรุนแรงในรัฐสภาหรือระหว่างพรรคร่วมรัฐบาล การใช้เป็นเครื่องมือในการชิงความได้เปรียบทางการเมือง เช่น ขณะที่ตนมีคะแนนนิยมสูงมาก การที่สภาวการณ์ต่าง ๆ สุกงอมพอสมควรที่จะจัดให้มีการเลือกตั้งก่อนครบอายุสภา เช่น ดำเนินการตามรัฐธรรมนูญได้เสร็จสิ้นแล้ว.
 
ตาม== หลักการสำคัญในการยุบสภาาตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] หลักการสำคัญในการยุบสภาสามารถพิจารณาภายใต้บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญได้ ดังนี้<ref>[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]]</ref> ==
== หลักการสำคัญในการยุบสภา ==
ตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] หลักการสำคัญในการยุบสภาสามารถพิจารณาภายใต้บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญได้ ดังนี้<ref>[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]]</ref>
 
#'''การยุบสภาเป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์''' (มาตรา 108 วรรคหนึ่ง) พระมหากษัตริย์ในฐานะ[[ประมุขแห่งรัฐ]]ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะยุบสภาผู้แทนราษฎรเพื่อให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่ แต่จะทรงใช้พระราชอำนาจนั้นได้ก็ต่อเมื่อนายกรัฐมนตรีเสนอเท่านั้น
# '''การยุบสภาผู้แทนราษฎรต้องตราเป็นพระราชกฤษฎีกา''' (มาตรา 108 วรรคสอง) พระราชกฤษฎีกาจะใช้บังคับเมื่อใดแล้วแต่กำหนดไว้ในนั้นเองแต่ต้องหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในการนี้ ต้องกำหนดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปภายใน 45 วัน แต่ไม่เกิน 60 วันนับแต่วันพระราชกฤษฎีกาใช้บังคับ
# '''การยุบสภาผู้แทนราษฎรจะกระทำได้เพียงครั้งเดียวในเหตุการณ์เดียวกัน''' (มาตรา 108 วรรค 3) หากมีจะการยุบสภาอีกครั้ง มิอาจอ้างเหตุผลที่ใช้ในการยุบสภาครั้งก่อนได้
# '''การยุบสภาผู้แทนราษฎรมีได้เฉพาะก่อนสภาสิ้นอายุ''' การยุบสภากระทำในเวลาใดก็ได้ก่อนสภาสิ่นอายุสิ้นอายุ แม้อยู่ในช่วงปิดสมัยประชุมสภา อย่างไรก็ตาม กรณีมีการเสนอญัตติเพื่อขอเปิด[[การอภิปรายไม่ไว้วางใจ|อภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ]]นายกรัฐมนตรีแล้ว ย่อมไม่สามารถยุบสภาได้
# '''การยุบสภาผู้แทนราษฎรทำให้สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลง''' (มาตรา 106)