ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
DMS WIKI (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
ปรับปรุงเนื้อหาครั้งใหญ่
บรรทัด 29:
| หมายเหตุ =
}}
'''ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์''' ({{Lang-en|Queen Sirikit National Convention Center}} - QSNCC) เป็น[[ศูนย์การประชุม]]หลักแห่งหนึ่งของประเทศไทย ตั้งอยู่บริเวณ[[ถนนรัชดาภิเษก]] [[เขตคลองเตย]] [[กรุงเทพมหานคร]] ติดกับ[[โรงงานสวนเบญจกิติ]] [[การยาสูบแห่งประเทศไทย]] และอยู่ใกล้กับ[[สวนป่าเบญจกิติ]]เดิม
 
== ประวัติ ==
จากในอดีต [[การประชุม]]ต่าง ๆ ในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะจัดขึ้นที่ศูนย์การประชุมภายใน[[โรงแรม]]หรูใน[[กรุงเทพมหานคร]] เนื่องจากประเทศไทยไม่มีศูนย์การประชุมอิสระหรือสิ่งอำนวยความสะดวกที่ให้บริการในระดับเดียวกับโรงแรม แต่หลังจากที่คณะกรรมการบริหาร[[ธนาคารโลก]]ได้รับเกียรติเลือกให้ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ ใน[[การจัดประชุมประจำปีของกองทุนการเงินระหว่างประเทศและธนาคารโลกและ|การประชุมประจำปี]]ของ[[กองทุนการเงินระหว่างประเทศ]]และ[[ธนาคารโลก]]ครั้งที่ 46 ณ [[กรุงเทพมหานคร]] รัฐบาลไทยจึงมีมติเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2532 ให้ก่อสร้างสถานที่จัดงานประชุมแห่งชาติที่ได้มาตรฐานสากลขึ้นในปลายปี พ.ศ. 2532 เพื่อรองรับการประชุมครั้งสำคัญดังกล่าว<ref name=":0">{{Cite journal|last=Pongcharoenkiat|first=Nongluk|date=1992-05-18|title=กรณีศึกษา : ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์|url=https://scholarworks.rit.edu/cgi/viewcontent.cgi?referer=&httpsredir=1&article=8209&context=theses|journal=[[สถาบันเทคโนโลยีโรเชสเตอร์]]|language=en|pages=3-4|access-date=2022-08-19|via=งานวิชาการ}}</ref> โดยกำหนดรูปทรงทางสถาปัตยกรรมที่แสดงถึงเอกลักษณ์ความเป็นไทย พร้อมกับใช้เทคนิค “สร้างและออกแบบ” (A “build and design” technique) เพื่อให้ศูนย์ประชุมของชาติแห่งแรกนี้สามารถเสร็จทันตามกำหนดเวลา
 
หลังจากการก่อสร้างศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์เริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532<ref name=":0" /> จากนั้น[[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] ได้เสด็จพระราชดำเนินวางศิลาฤกษ์ก่อสร้างอาคารบนพื้นที่ 20 เอเคอร์ ซึ่งอยู่ติดกับ[[การยาสูบแห่งประเทศไทย|โรงงานยาสูบ]] เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 บรรดาหลังจากนั้น นักออกแบบจำนวนกว่า 100 คน และคนงานก่อสร้างอีกกว่า 1,000 คน ต่างทุ่มเททำงานทั้งกลางวัน และกลางคืน เพื่อให้การก่อสร้างแล้วเสร็จในเดือนสิงหาคมทันตามกำหนดเวลา<ref name=":1">{{Cite web|title=QSNCC HISTORY|url=http://dev1.colorpack. 2534net/qsncc/th/qsncc-venue-information/history.html|url-status=live|access-date=2022-08-19|website=dev1.colorpack.net/QSNCC}}</ref>
 
จากความมุ่งมั่น และพยายามของทุกฝ่าย ทำให้การก่อสร้างตัวอาคารแล้วเสร็จภายในเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2534 หมายความว่าใช้เวลาเพียง 1620 เดือน จากเดิมที่กำหนดไว้ 40 เดือน ด้วยงบประมาณเพียง 90 ดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งน้อยกว่าที่กำหนด<ref name=":0" /> ส่วนการตกแต่งภายในอาคารนั้นแล้วเสร็จในต้นหลังผ่านไปอีก 1 เดือนสิงหาคมเศษ<ref พ.ศ.name=":1" 2534/>
 
ในวันพฤหัสบดีที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2534 [[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] และ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปิดศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง พระราชทานพระราชานุญาตให้ใช้พระนามเป็นชื่อของศูนย์การประชุม เนื่องในโอกาส[[พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2535]]
 
นับตั้งแต่เริ่มให้บริการอย่างเป็นทางการ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ได้รองรับผู้เข้าร่วมการประชุมประจำปีของธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหว่างประเทศและธนาคารโลกครั้งที่ 46 กว่า 10,000 คน จาก 154 ประเทศ ระหว่างวันที่ 1 - 15 ตุลาคม พ.ศ. 2534 ซึ่งได้รับคำชื่นชมจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง จากความสำเร็จดังกล่าวทำให้ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์มีบทบาทสำคัญในการเป็นผู้นำด้านธุรกิจ[[ไมซ์]] (MICE ย่อมาจาก MeetingsMeeting, IncentivesIncentive travel, ConventionsConvention andและ ExhibitionsExhibition) ในประเทศไทยตลอดมา
 
ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของ[[กรมธนารักษ์]] [[กระทรวงการคลัง ซึ่ง(ประเทศไทย)|กระทรวงการคลัง]] และบริหารงานโดยบริษัท เอ็น.ซี.ซี. แมนเนจเม้นท์ แอนด์ ดิเวลลอปเม้นท์ จำกัด<ref name=":1" />
 
ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ได้ปิดปรับปรุงครั้งใหญ่ตั้งแต่วันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2562 เป็นเวลา 3 ปี<ref>[https://www.facebook.com/js100radio/posts/2316976824992538 ปิดปรับปรุงศูนย์ฯสิริกิติ์ ตั้งแต่ 26 เม.ย.62] , จส.100</ref> และมีกำหนดกลับมาเปิดให้บริการอีกครั้งในวันที่ 12โดยหลังจากปรับปรุง กันยายน พ.ศ. 2565ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์จะเป็นที่สุดของพื้นที่จัดกิจกรรมที่สร้างแรงบันดาลใจให้ทุกคน<ref>[https://www.prachachat.net/tourism/news-850689 เอ็น.ซี.ซี.ฯ เปิดตัว “ศูนย์ประชุมสิริกิติ์” โฉมใหม่ มากกว่าศูนย์การประชุม] , ประชาชาติธุรกิจ</ref> โดยมีกำหนดกลับมาเปิดให้บริการอีกครั้งในวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2565<ref>{{Cite web|last=Banking|first=Money and|title=“ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์” พร้อมเปิดให้บริการ 12 กันยายน 2565|url=https://www.moneyandbanking.co.th/article/news/queen-sirikit-national-convention-center-18082022|website=Money and Banking|language=en}}</ref>
 
==การจัดสรรพื้นที่==
ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์โฉมใหม่ออกแบบโดยใช้สถาปัตยกรรมไทยร่วมสมัย<ref>{{Cite web|date=2022-08-09|title=คุยกับผู้อยู่เบื้องหลังการรีโนเวตศูนย์ฯ สิริกิติ์ จากผ้าไทย ความร่วมสมัย สู่โอกาสของไทยในเวทีโลก|url=https://urbancreature.co/queen-sirikit-national-convention-center/|website=Urban Creature|language=en-US}}</ref> ภายในประกอบด้วย โถงประชุมและนิทรรศการ จำนวน 8 ฮอลล์, ห้องเพลนารีฮอลล์, ห้องบอลรูม, ห้องประชุมย่อย, พื้นที่ค้าปลีก และร้านอาหาร
{{โครงส่วน|date=สิงหาคม 2022}}
 
== งานที่จัดในศูนย์ประชุมฯประชุม ==
* การประกวด[[นางงามจักรวาล 1992]]
* การประกวด[[นางสาวไทย]] พ.ศ. 2538, 2543-2545