ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กัลฟ์ เอ็นเนอร์จี ดีเวลลอปเมนท์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
Dharmadana (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 23:
 
กัลฟ์เคยสนับสนุนสโมสรฟุตบอลมากกว่า 5 ทีม เช่น อยุธยา เอฟซี, ปลวกแดง, ระยอง พังงา และ ทีมฟุตบอลจามจุรียูไนเต็ด รวมไปถึงได้ซื้อสิทธิ์การถ่ายทอดสด[[ฟุตบอลโลก 2018]] ที่รัสเซีย มาออกอากาศในประเทศไทย จำนวน 200 ล้านบาท<ref>[https://gmlive.com/Biz-Gulf-Company-Worldcup-2018 อยากรู้ไหม ‘Gulf’ ผลิตไฟฟ้าได้มากแค่ไหน แล้วทำไมมาเกี่ยวข้องกับบอลโลก 2018]</ref>
 
พ.ศ. 2562 กัลฟ์ขยายอาณาจักรสู่ธุรกิจโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภคทั่วประเทศ ได้แก่โครงการพัฒนาท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด เฟส 3, การพัฒนาท่าเรือแหลมฉบัง เฟส 3 (อาคาร F), โครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข6 สายบางปะอิน-นครราชสีมา (M6), โครงการบริการ เดินรถและซ่อมบำรุงมอเตอร์เวย์ระหว่างเมือง บางใหญ่-กาญจนบุรี (M81) มีโครงการร่วมทุนเพื่อลงทุนและดำเนินงานระบบจำหน่ายไฟฟ้าและระบบทำความเย็นสำหรับโครงการ[[วัน แบงค็อก]]
 
พ.ศ. 2564 กัลฟ์ตัดสินใจเทกโอเวอร์บริษัท [[อินทัช โฮลดิ้งส์]] จำกัด (มหาชน) ขึ้นเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ปลายปี 2564 กัลฟ์ได้จัดตั้งบริษัท กัลฟ์ อินโนวา จำกัด และช่วงเมษายนปีเดียวกัน กัลฟ์ อินโนวา ร่วมลงทุนแพลตฟอร์มซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล [[ไบแนนซ์]] (Binanace) ด้วยการจัดตั้งบริษัท กัลฟ์ ไบแนนซ์ จำกัด (Gulf Binance) เพื่อร่วมลงทุนในศูนย์ซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล<ref>{{cite web |title=ผ่าแนวคิด ‘สารัชถ์ รัตนาวะดี’ ลุยดิจิทัลเต็มรูปแบบ |url=https://www.thansettakij.com/finance/531971?fbclid=IwAR0eSR9li6Zg4GsBUXVde8Nw3ztskuBwkRcZW8rCpcihdA1F8ZIO_ciuV0E |publisher=ฐานเศรษฐกิจ}}</ref>
 
==ธุรกิจ==