ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิโคลา เทสลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Prasitthiporn (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
MayThe2nd (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อน
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 4:
| บรรยายภาพ = "'[[รังสีคอสมิก]] และนำมาใช้ควบคุมอุปกรณ์ที่เคลื่อนไหว''" - '''นิโคลา เทสลา'''; บรุกลิน อีเกิล, <br> 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2474
| เกิด = 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2399 [[จักรวรรดิออสเตรีย]]
| เสียชีวิตตาย = 7 มกราคม พ.ศ. 2486 (86 ปี) [[สหรัฐอเมริกา]]
| การงาน = [[นักวิทยาศาสตร์]]
| สัญชาติ = [[จักรวรรดิออสเตรีย]] 2399-2434<br>[[สหรัฐ]] 2434-2486
บรรทัด 18:
| signature = Nikola Tesla signature 1900.svg}}
 
'''นิโคลา เทสลา''' ({{lang-sr|Никола Тесла;}} {{Lang-en|Nikola Tesla}}) เกิดเมื่อ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2399 – เสียชีวิตตาย 7 มกราคม พ.ศ. 2486 (86 ปี) เป็นนักประดิษฐ์ นักฟิสิกส์ วิศวกรเครื่องกล [[วิศวกรไฟฟ้า]] และนักทำนายอนาคต ชาวเซอร์เบีย-อเมริกัน เกิดที่หมู่บ้านในพื้นที่ภูเขา ชื่อเมืองสมิลยาน ในอดีตของออสเตรีย-ฮังการี ปัจจุบันคือสาธารณรัฐโครเอเชีย ซึ่งได้รับสัญชาติเป็นพลเมืองอเมริกันภายหลัง
 
เทสลามีปัญหาทางประสาทในวัยเด็ก ที่เขาต้องทุกข์ทรมาน จากโรคย้ำคิดย้ำทำ เขาได้งานแรกในบูดาเปสต์โดยทำงานที่บริษัทโทรศัพท์ เทสล่าได้ประดิษฐ์ลำโพงสำหรับโทรศัพท์ระหว่างที่ทำงานอยู่ที่นี่ ก่อนที่จะเดินทางอพยพไปอเมริกาในปี พ.ศ. 2427 เพื่อที่จะไปทำงานกับ [[โทมัส เอดิสัน]] แต่ในไม่นานเขาก็เริ่มก่อตั้ง ห้องปฏิบัติการ/บริษัท พัฒนาอุปกรณ์ไฟฟ้าของตัวเองโดยมีผู้สนับสนุนด้านการเงินให้ สิทธิบัตรมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับแบบเหนี่ยวนำ และหม้อแปลงไฟฟ้า ได้รับการจดทะเบียนโดย [[จอร์จ เวสติงเฮ้าส์]] ซึ่งเป็นผู้ว่าจ้างให้เทสลาเป็นที่ปรึกษาและพัฒนาอุปกรณ์ไฟฟ้าและเครื่องกลต่างๆ อาทิเช่น การทดลองเกี่ยวกับคลื่นความถี่สูงและแรงดันไฟฟ้าแรงสูง ในนิวยอร์ก และโคโลราโด สปริงซ์ สิทธิบัตรของอุปกรณ์และทฤษฎีที่ใช้ในการสร้างวิทยุสื่อสาร การทดลอง X-ray ของเขา เขายังเป็นผู้คิดค้นตัวกำเนิดสัญญาณ (Oscillator) หลากหลายรูปแบบอีกด้วย และโครงการ [[Wardenclyffe Tower]] ซึ่งเป็นความพยายามในการส่งสัญญาณไร้สายข้ามทวีปแต่โชคร้ายที่โครงการนี้ไม่ประสบความสำเร็จ