ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คามิกาเซะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
AAAERTCM (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ทับศัพท์
ป้ายระบุ: ลิงก์แก้ความกำกวม
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ=|สำหรับ= |ดูที่=คะคามิกะกาเซะ (แก้ความกำกวม)}}
[[ไฟล์:A6M5 52c Kyushu.jpg|right|285px|thumb|เครื่องบิน 52c Zeroes ถูกส่งจากเกาหลีสู่[[เกาะคีวชู]] (ต้นปี พ.ศ. 2488)]]
 
'''คะคามิกะกาเซะ''' ({{ญี่ปุ่น|神風|Kamikaze}}) หรือ เรียกอย่างเป็นทางการว่า '''กองกำลังจู่โจมพิเศษ''' (特別攻撃隊 ''โทะกุเบะสึโคเกะกิไตโทกุูเบะสึโคเกะกิไต'') เป็นคำในภาษาญี่ปุ่นมีความหมายว่าลมสวรรค์ หรือลมแห่งเทวะ คะคามิกะกาเซะใน[[ภาษาญี่ปุ่น]] ถูกนำมาใช้เรียกลมสลาตัน และนำมาใช้เป็นชื่อฝูงบินและนักบินคะคามิกะกาเซะเท่านั้น ต่างไปจากใน[[ภาษาอังกฤษ]]ที่ชาวตะวันตกนำคำๆคำ ๆ นี้มาใช้เรียกการโจมตีแบบพลีชีพ (suicide attacks) คำ ๆ นี้ได้ถูกนำมาใช้เรียกอากาศยานพลีชีพของญี่ปุ่นใน[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ซึ่งบรรทุกระเบิดและพุ่งเข้าชนเรือ และคำนี้ยังหมายถึงนักบินผู้บังคับอากาศยานประเภทนี้ด้วย
 
ญี่ปุ่นใช้ยุทธวิธีพลีชีพด้วยฝูงบินคะคามิกะกาเซะนี้เป็นอย่างมาก ในช่วงที่กองทัพญี่ปุ่นบุก[[ฟิลิปปินส์]]ในปี [[พ.ศ. 2487]] (ค.ศ. 1944) และเพื่อหยุดยั้งการบุกของกองทัพเรือฝ่ายสัมพันธมิตร และที่เมือง[[โอะกินะวะโอกินาวะ]]
 
== ความหมาย ==
คำว่า คะคามิกะกาเซะ มาจากคำสองคำต่อกัน คือ kami หมายถึง พระเจ้า (god) และ kaze หมายถึง ลม (wind) รวมกันมีความหมายว่า ลมแห่งสวรรค์ หรือ divine wind ในภาษาอังกฤษ และยังหมายถึง ชื่อพายุไต้ฝุ่นที่เกิดขึ้นในปี [[พ.ศ. 1824]] พายุลูกนี้ทำให้กองทัพเรือของจีนจำนวน 4,500 ลำ ในสมัยของจักรพรรดิจีน [[กุบไลข่าน]] ที่จะเข้าโจมตียึด[[ญี่ปุ่น]] โดยล้มเหลวโดยสิ้นเชิง ชาวญี่ปุ่นเป็นหนี้บุญคุณพายุ[[ไต้ฝุ่น]]ลูกนี้เป็นอย่างมากจึงได้ตั้งชื่อว่า "คะคามิกะกาเซะ" แปลว่า "พายุเทพเจ้า" และเป็นที่มาของชื่อกองบิน "คะคามิกะกาเซะ" ในกองทัพอากาศญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งทื่ 2
 
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:USS Intrepid CV-11 kamikaze strike.jpg|right|255px|thumb| เรือ Intrepid (CV-11) ถูกฝูงบินคะคามิกะกาเซะเข้าโจมตีที่จุดสำคัญ (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487) ]]
นาวาโท อะไซกิ ทาไม อาจารย์สอน การบินทหารเรือ ได้สอบถามนักเรียนการบิน 23 คนในกลุ่มว่ามีใครสนใจจะเข้าร่วม ในกองกำลังโจมตีพิเศษ (Special Attack Force) โดยนักเรียนทั้งหมดตกลงที่จะเข้าร่วมการ ปฏิบัติการครั้งนี้ รวมทั้งต่อมา ยูคิโอะ เซกิ ก็เข้าร่วมเป็นคนที่ 24
หน่วยโจมตีพิเศษคะคามิกะกาเซะนี้ มี 4 หน่วยย่อย คือ''หน่วยชิคิชิมา (Shikishima), หน่วยยามาโตะ (Yamato), หน่วยอาซาฮิ (Asahi) และ หน่วยยามาซาคูรา (Yamazakura)''ชื่อของ หน่วยย่อยเหล่านี้ นำมาจากบทกวีเกี่ยวกับความรักชาติ ซึ่งประพันธ์ โดยนักปราชญ์ยุคคลาสสิก ของญี่ปุ่น ชื่อ [[โมโตริ โนรินากะ]]
 
หลักฐานเกี่ยวกับการโจมตีครั้งแรกของคะคามิกะกาเซะที่เชื่อถือได้จากรายงานโดยเจ้าหน้าที่ฝ่ายสัมพันธมิตร ซึ่งเป็นที่ยอมรับของหลาย ๆ ฝ่าย คือ การโจมตีเรือลาดตระเวนหนัก ของออสเตรเลีย ชื่อ HMAS Australia เมื่อวันที่ [[21 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2487]] ถูกเครื่องบินญี่ปุ่น บรรทุก[[ระเบิด]]หนัก 200 กิโลกรัม (หรือ 441 ปอนด์) พุ่งเข้าชนกลางทะเล นอก[[เกาะเลเต]] (Leyte) เครื่องบินลำนี้ปะทะเข้ากับ ส่วนโครงสร้างเหนือดาดฟ้าใหญ่ของเรือ เหนือสะพานเดินเรือ เกิดการระเบิด [[น้ำมัน]]ลุกไหม้และซากปรักหักพังกระจัดกระจาย เป็นวงกว้าง แต่ระเบิดหนัก 200 กิโลกรัมที่ติดมากับเครื่องบิน ไม่เกิดการระเบิด มีคนเสียชีวิตบนเรืออย่างน้อย 30 นาย แต่การโจมตีครั้งนี้ไม่ได้มาจากเครื่องบินคะคามิกะกาเซะของหน่วยโจมตีพิเศษ (special attack unit) ภายใต้การนำของ นาวาโท ทาไม แต่เป็นการปฏิบัติการของนักบินญี่ปุ่นไม่ทราบนาม
 
ในวันที่ [[25 ตุลาคม]] พ.ศ. 2487 ฝูงบินคะคามิกะกาเซะ ซึ่งประกอบด้วย เครื่องบินซีโร่ (Zero) จำนวน 5 ลำ นำโดย เรือโท เซกิ ได้เข้าโจมตี เรือบรรทุกเครื่องบินคุ้มกันของสหรัฐ ฯ ชื่อ USS St. Lo แม้ว่าจะมีเครื่องบิน ซีโร่เพียงลำเดียวที่พุ่งเข้าชนเรือ USS St. Lo ได้สำเร็จ แต่ก็ส่งผลเกินคุ้มระเบิดที่ติดมากับเครื่องบินเกิดระเบิดไฟลุกไหม้ ลุกลามต่อไปยังคลังระเบิดของเรือ USS St. Lo เกิดการระเบิดอย่างรุนแรงจนเรือจม นอกจากนี้เครื่องบินคะคามิกะกาเซะลำอื่น ๆ ได้สร้างความเสียหายให้เรือรบฝ่ายสัมพันธมิตรอีกมากมายนับไม่ถ้วน เนื่องจากเรือรบของสัมพันธมิตรจำนวนมากในยุคนั้น ดาดฟ้าเรือทำด้วยไม้ ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงของไฟจากระเบิดได้เป็นอย่างดีกล่าวได้ว่าเรือบรรทุกเครื่องบิน ของสหรัฐฯในช่วงนั้นตกเป็นเป้าการโจมตีของคะคามิกะกาเซะได้ง่ายกว่าเรือบรรทุกเครื่องบินของ[[อังกฤษ]]ที่มีดาดฟ้าทำด้วย[[เหล็ก]] และเข้าประจำการใน[[กองเรือแปซิฟิกของอังกฤษ]] ในช่วงปี [[พ.ศ. 2488]]
 
เรือ HMAS Australia กลับมาร่วมรบได้อีกครั้งในเดือนมกราคม ปี พ.ศ. 2488 ได้ถูกฝูงบินคะคามิกะกาเซะโจมตีถึงหกครั้ง มีทหารประจำเรือเสียชีวิตถึง 86 นายแต่เรือก็รอดจากการถูกทำลายมาได้ เรือรบของฝ่ายสัมพันธมิตร ลำอื่นๆอื่น ๆ ที่รอดจากการระเบิดและจมลงทะเล แม้จะถูกฝูงบินคะคามิกะกาเซะโจมตีซ้ำหลายครั้งในช่วง สงครามโลกครั้งที่ 2 เช่น เรือบรรทุกเครื่องบินขนาดใหญ่ ชั้น Essex ของสหรัฐ ฯ จำนวน 2 ลำ คือ เรือ USS Intrepid และ USS Franklin
 
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง จากการรายงานของประเทศญี่ปุ่นนักบินทหารเรือ ของ[[ราชนาวี]]ญี่ปุ่นสังเวยชีวิตไปในภารกิจพลีชีพนี้ ถึง 2,525 นายและนักบินพลีชีพคะคามิกะกาเซะ ในส่วนของกองทัพบกญี่ปุ่นเสียชีวิต 1,387 นาย ตามสถิติที่ทางฝ่ายญี่ปุ่นได้บันทึกไว้ เหล่านักบินที่ห้าวหาญนี้จมเรือรบของฝ่ายสัมพันธมิตรไป 81 ลำ และทำความเสียหายให้เรือรบอีก 195 ลำ คะคามิกะกาเซะได้สร้างความสูญเสียให้แก่กองทัพเรือ สหรัฐ ฯ ในการรบทางทะเลฝั่ง[[มหาสมุทรแปซิฟิก]] ถึง 80 เปอร์เซ็นต์ จากสาเหตุความสูญเสียทั้งหมด
 
แต่จากข้อมูลของฝ่ายสัมพันธมิตร มีเรือรบฝ่ายสัมพันธมิตรจมลงจากการโจมตีของคะคามิกะกาเซะ เพียง 34 ลำ และอีก 288 ลำได้รับความเสียหาย
 
== คะคามิกะกาเซะ ในมุมมองของชาวญี่ปุ่นผู้รักชาติ ==
[[ไฟล์:Youngest kamikaze only 17 years old.jpg|160px|right|thumb|จากภาพ 26 พฤษภาคม 1945 ยูคิโอะ อาราคิ (อุ้มลูกสุนัข) ถ่ายรูปกับเพื่อนร่วมฝูงบินก่อนภารกิจพลีชีพเรือสัญชาติอเมริกัน เสียชีวิตด้วยวัย 17 ปี]]
ปฏิบัติการของเหล่านักบินคะคามิกะกาเซะ ที่ดูบ้าบิ่นเกินมนุษย์ในสายตาของชาวตะวันตก แต่[[ชาวญี่ปุ่น]]กลับมีความคิดและความรู้สึกกับหน่วยโจมตีพิเศษนี้ด้วยความต้องการเสียสละ ไม่เคยขาดแคลนอาสาสมัคร นักบินที่จะมาทำงานให้แก่หน่วยโจมตีพิเศษพลีชีพคะคามิกะกาเซะ มีจำนวนคนที่ต้องการจะมาเป็นนักบินพลีชีพ มากกว่าจำนวนเครื่องบินที่มีอยู่ถึงสามเท่า ในการคัดเลือกตัวนักบิน พวกนักบินมากประสบการณ์ต่าง ๆ จะถูกกีดกันออกไป เนื่องจากนักบินเหล่านี้มีคุณค่าใน[[การรบเชิงป้องกัน]] (defensive) และในการฝึกสอนนักบินรุ่นใหม่ ๆ ซึ่งทางกองทัพจะต้องอาศัยนักบินมากประสบการณ์เหล่านี้ในระยะยาว
 
นักบินพลีชีพคะคามิกะกาเซะส่วนใหญ่จะมีอายุอยู่ในช่วง 20 ปี ส่วนมากเป็นนักศึกษาทางด้าน[[วิทยาศาสตร์]]ใน[[มหาวิทยาลัย]] แรงจูงใจที่ทำให้นักศึกษาเหล่านี้เข้าร่วมเป็นนักบินพลีชีพของกองทัพมาจาก [[ความรักชาติ]] (patriotism), ความปรารถนาที่จะนำเกียรติยศมาสู่วงศ์ตระกูลของตนเอง ด้วยการสละชีพเป็นชาติพลี และเพื่อพิสูจน์คุณค่าของความเป็นลูกผู้ชาย ซึ่งกลายเป็นความนิยมรักชาติของวัยรุ่นญี่ปุ่นในขณะนั้น
 
== ธรรมเนียมปฏิบัติและตำนานเล่าขาน ==
ก่อนที่นักบินคะคามิกะกาเซะจะออกปฏิบัติการเพียงเล็กน้อย ธรรมเนียมปฏิบัติที่ทางหน่วยจะจัดขึ้นเป็นพิธีพิเศษ (special ceremony) ให้แก่นักบินเหล่านี้ มีการสวดมนต์ให้พรนักบิน และญาติมิตรของนักบินที่มาร่วมในงาน เหล่านักบินจะได้รับเครื่องยศทางทหาร (military decoration) ซึ่งมีผลต่อขวัญและกำลังใจของนักบินที่จะออกไปปฏิบัติการ และทำให้เกิดภาพพจน์และแรงจูงใจที่ดีต่ออาสาสมัครที่ต้องการจะมาเป็นนักบินคะคามิกะกาเซะรุ่นต่อ ๆ ไป
 
== อ้างอิง ==
* ภิยะพรรณี วัฒนายากร [http://www.navy.mi.th/navic/document/890705a.html ฝูงบินพลีชีพคะคามิกะกาเซะ (Kamikaze)] นาวิกศาสตร์ สำนักงานราชนาวิกสภา{{ลิงก์เสีย|date=สิงหาคม 2565}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==