ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปราสาทหินพนมวัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phoebus 28 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Noppal91 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล สิ่งก่อสร้าง
[[ไฟล์:Phnom-Wan-001.jpg |thumb|ปราสาทหินพนมวัน]]
| ชื่อสิ่งก่อสร้าง = ปราสาทหินพนมวัน
'''ปราสาทหินพนมวัน ''' ตั้งอยู่ที่บ้านมะค่า ตำบลบ้านโพธิ์ ถนนสายโคราช-ขอนแก่น [[อำเภอเมืองนครราชสีมา]] [[จังหวัดนครราชสีมา]] เป็นโบราณสถานสถาปัตยกรรมในคติความเชื่อของ[[เขมร]]โบราณ สร้างราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 เพื่อเป็นเทวสถาน ต่อมาภายหลังดัดแปลงเป็นพุทธสถาน เป็นปราสาทหินที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 5 ของประเทศไทย<ref>[http://www.oknation.net/blog/print.php?id=139406 เมื่อ “ปราสาทหินพนมวัน” สร้างไม่สะเด็ด เพราะเสร็จอุบายหญิง]</ref>
| ชื่อภาษาอื่น = Prasat Hin Phanom Wan
| ภาพ = Phnom-Wan-001.jpg
| คำบรรยายภาพ =
| สิ่งก่อสร้าง = [[ปราสาทหิน]]
| เมืองที่ตั้ง = [[อำเภอเมืองนครราชสีมา]], [[จังหวัดนครราชสีมา]]
| ประเทศที่ตั้ง = [[ประเทศไทย]]
| ปีสร้าง = ราวพุทธศตวรรษที่ 15
| ปีรื้อ =
| ปีบูรณะ = ราวพุทธศตวรรษที่ 18-19
| แบบสถาปัตยกรรม = [[อาณาจักรขะแมร์|ขอม]]แบบบาปวน
| โครงสร้าง =
| size =
| รายละเอียดอื่น =
| สถาปนิก =
| วิศวกร =
| ตกแต่งภายใน =
| สวน =
| ผู้ออกแบบผู้อื่น =
| รางวัล =
| known_for = เป็นปราสาทหินที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 5 ของประเทศไทย<ref name ="พนมวัน">{{Cite web |url=https://thai.tourismthailand.org/Attraction/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99 |title=ปราสาทหินพนมวัน |publisher=การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.)}}</ref>
| เว็บไซต์ =
| หมายเหตุ =
}}
 
'''ปราสาทหินพนมวัน ''' ตั้งอยู่ที่บ้านมะค่า ตำบลบ้านโพธิ์ ถนนสายโคราช-ขอนแก่น [[อำเภอเมืองนครราชสีมา]] [[จังหวัดนครราชสีมา]] เป็นโบราณสถานสถาปัตยกรรมในคติความเชื่อของ[[เขมร]]โบราณ สร้างราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 เพื่อเป็นเทวสถาน ต่อมาภายหลังดัดแปลงเป็นพุทธสถาน เป็นปราสาทหินที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 5 ของประเทศไทย<ref>[http://www.oknation.net/blog/print.php?id=139406 เมื่อ “ปราสาทหินพนมวัน” สร้างไม่สะเด็ด เพราะเสร็จอุบายหญิง]</ref>
ตัวปราสาทหินพนมวันสร้างเป็นปรางค์มีฉนวน (ทางเดิน) ติดต่อกันเป็นรูปสี่เหลี่ยมยาว 25.50 เมตร กว้าง 10.20 เมตร พระปรางค์มีประตูซุ้ม 3 ด้าน ซุ้มประตูด้านทิศเหนือ ประดิษฐานพระพุทธรูปยืนปางประธานอภัย 1 องค์ ลักษณะศิลปะแบบอยุธยา รอบปราสาทเป็นลานกว้างมีระเบียงคดก่อด้วยหินกว้าง 54 เมตร ยาว 63.30 เมตร ประกอบด้วยประตูทางเข้า 4 ทิศ <ref>[http://travel.sanook.com/northeast/nakonratchasrima/nakonratchasrima_02825.php ปราสาทหินพนมวัน]</ref> ทางด้านทิศตะวันออกมี “บาราย” หรือสระน้ำขนาดใหญ่ประจำชุมชน เรียกว่า "สระเพลง"
 
สันนิษฐานว่า เดิมปราสาทหินพนมวันก่อสร้างด้วยอิฐในราวพุทธศตวรรษที่ 15 ต่อมาในราวพุทธศตวรรษที่ 18-19 จึงได้สร้างอาคารหินซ้อนทับลงไป มีลักษณะคล้ายครึงกับปราสาทหินพิมายแต่มีขนาดเล็กกว่า จากจารึกที่ค้นพบ เรียกปราสาทแห่งนี้ว่า "เทวาศรม" เป็นศาสนสถานในศาสนาฮินดู ต่อมา จึงได้เปลี่ยนแปลงให้เป็นพุทธสถาน<ref name ="พนมวัน2">{{Cite web |url=https://culturalenvi.onep.go.th/site/detail/1569 |title=ปราสาทหินพนมวัน |publisher=กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)}}</ref> เป็นปราสาทหินที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 5 ของประเทศไทย<ref>[http://www.oknation.net/blog/print.php?id=139406 เมื่อ “ปราสาทหินพนมวัน” สร้างไม่สะเด็ด เพราะเสร็จอุบายหญิง]</ref>
 
กรมศิลปากรได้มีการขุดแต่งและบูรณะ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2542 โดยปราสาทประธานได้มีการบูรณะด้วยวิธีอนัสติโลซิส (Anastylosis) และยังได้มีการบูรณะสถานที่ภายนอกระเบียงคด ได้แก่ ซากโบสถ์ร้าง เนินอรพินท์ เป็นต้น จึงทำให้ปราสาทพนมวันมีความสมบูรณ์ขึ้น
 
== สิ่งก่อสร้างบริเวณปราสาท ==
=== ปรางค์ประธาน ===
ตัวปราสาทหินพนมวันสร้างเป็นปรางค์ มีฉนวน (ทางเดิน) ติดต่อกันเป็นรูปสี่เหลี่ยมยาว 25.50 เมตร กว้าง 10.20 เมตร พระปรางค์มีประตูซุ้ม 3 ด้าน ซุ้มประตูด้านทิศเหนือ ประดิษฐานพระพุทธรูปยืนปางประธานอภัย 1 องค์ ลักษณะศิลปะแบบอยุธยา รอบปราสาทเป็นลานกว้างมีระเบียงคดก่อด้วยหินกว้าง 54 เมตร ยาว 63.30 เมตร ประกอบด้วยประตูทางเข้า 4 ทิศ <ref>[http://travel.sanook.com/northeast/nakonratchasrima/nakonratchasrima_02825.php ปราสาทหินname ="พนมวัน]<"/ref> ทางด้านทิศตะวันออกมี “บาราย” หรือสระน้ำขนาดใหญ่ประจำชุมชน เรียกว่า "สระเพลง"
 
=== ระเบียงคดและโคปุระ ===
บริเวณโดยรอบตัวปราสาทเป็นลานกว้างมีระเบียงคดก่อด้วยหินทรายและศิลาแลงล้อมเป็นกำแพงอยู่ ขนาดกว้าง 54 เมตร ยาว 63.30 เมตร ประตูทางเข้าเทวสถาน มีโคปุระ (ซุ้มประตู) สลักหินทรายขนาดเล็กก่อสร้างเป็นรูปหอสูงทั้งสี่ทิศ<ref name ="พนมวัน"/><ref>[http://travel.sanook.com/northeast/nakonratchasrima/nakonratchasrima_02825.php ปราสาทหินพนมวัน]</ref>
 
=== ปรางค์น้อย ===
ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของปรางค์มีอาคารก่อด้วยหินทรายสีแดงเรียกว่า "ปรางค์น้อย"<ref name ="พนมวัน"/>
 
=== เนินนางอรพิมพ์ ===
ทางด้านนอกปราสาททางด้านทิศตะวันออกห่างจากโบราณสถานเกือบ 300 เมตร มีร่องรอยของคูน้ำและเนินดิน เรียกกันแต่เดิมว่า "เนินนางอรพิมพ์" หรือ "เนินอรพิม" นอกจากนี้ยังพบศิลาแลงจัดเรียงเป็นแนวคล้ายซากฐานอาคารบนเนินแห่งนี้ด้วย สันนิษฐานว่าน่าจะเป็น "พลับพลาลงสรง" ในรูปแบบพิเศษที่ไม่เคยพบในที่อื่นๆ ของประเทศไทย อาจใช้เป็นเรือนสำหรับรับรองเจ้านายหรือเป็นวังของผู้ปกครองเมืองพนมวัน แล้วก็เป็นพลับพลาพระตำหนักรับเสด็จพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 หรือผู้แทนพระองค์ที่น่าจะเดินทางมาถึงปราสาทพนมวันในยุคพุทธศตวรรษที่ 18 เพื่อถวายพระพุทธรูปพระชัยพุทธมหานาถ<ref name ="พนมวัน"/>
 
=== บาราย ===
ทางด้านทิศตะวันออกมี “บาราย” หรือสระน้ำขนาดใหญ่ประจำชุมชน เรียกว่า "สระเพลง" ขนาดกว้าง 275 เมตร ยาว 475 เมตร
 
== อ้างอิง ==