ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาดเล็ก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
MayThe2nd (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 10207362 สร้างโดย 2001:FB1:182:30B6:50A1:6ECB:5DAA:D1CA (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{สากล}}
'''มหาดเล็ก''' หมายถึง [[ข้าราชการ]]ใน[[พระราชสำนัก]] โดย[[พจนานุกรม]]ฉบับ[[ราชบัณฑิตยสถาน]] [[พ.ศ. 2542]] ให้ความหมายไว้ว่า ...... มีหน้าที่รับใช้พระเจ้าแผ่นดิน, ผู้รับใช้ประจำเจ้านาย หรือผู้ที่ถวายตัวเป็นผู้รับใช้เจ้านาย, เรียกทหารที่มีหน้าที่รักษาพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชวงศ์ว่า ''ทหารมหาดเล็ก'', เรียกเต็มว่า ''ทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์''” และให้ความหมายของคำว่า “''มหาดเล็กรายงาน''” ว่าเป็นคำโบราณ หมายถึง “.... มหาดเล็กซึ่งมีหน้าที่รายงานการสร้าง[[วัด]]หรือคนเจ็บป่วยเป็นต้น” และยังใช้หมายถึง “....ข้าราชการชั้นฝึกหัดในหัวเมือง” อีกด้วย นอกจากนี้ยังให้ความหมายของ “''มหาดเล็กหลวง''” ว่าหมายถึง “....ข้าราชการในราชสำนักมีหน้าที่รับใช้[[พระมหากษัตริย์]]”
'''มหาดเล็ก''' หมายถึง [[ข้าราชการ]]ใน[[พระราชสำนัก]] โดย[[พจนานุกรม]]ฉบับ[[สำนักงานราชบัณฑิตยสภา|ราชบัณฑิตยสถาน]] พ.ศ. 2542 ให้ความหมายไว้ว่า
 
“มีหน้าที่รับใช้พระเจ้าแผ่นดิน, ผู้รับใช้ประจำเจ้านาย หรือผู้ที่ถวายตัวเป็นผู้รับใช้เจ้านาย, เรียกทหารที่มีหน้าที่รักษาพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชวงศ์ว่า ''ทหารมหาดเล็ก'', เรียกเต็มว่า ''ทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์''” และให้ความหมายของคำว่า “''มหาดเล็กรายงาน''” ว่าเป็นคำโบราณ หมายถึง “ มหาดเล็กซึ่งมีหน้าที่รายงานการสร้าง[[วัด]]หรือคนเจ็บป่วยเป็นต้น” และยังใช้หมายถึง “ข้าราชการชั้นฝึกหัดในหัวเมือง” อีกด้วย นอกจากนี้ยังให้ความหมายของ “''มหาดเล็กหลวง''” ว่าหมายถึง “ข้าราชการในราชสำนักมีหน้าที่รับใช้[[พระมหากษัตริย์]]”
 
== การแบ่งประเภท ==
เส้น 11 ⟶ 9:
นายจ่าเรศ นายจ่ายง นายจ่ารง และนายจ่ายวด มีศักดินา 600
 
“''พระราชบัญญัติกรมมหาดเล็ก''” ซึ่งตราขึ้นโดย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เมื่อวันที่ [[6 กรกฎาคม]] [[ร.ศ. 2436112]] ได้แบ่งมหาดเล็กเป็น 4 จำพวก ได้แก่ “......
# '''มหาดเล็กบรรดาศักดิ์''' ได้แก่ บรรดามหาดเล็ก ที่ได้รับพระราชทาน[[สัญญาบัตร]] ไม่ว่าจะเข้าเวรรับราชการหรือมิได้เข้าเวรรับราชการก็ตาม
# '''มหาดเล็กวิเศษ''' ได้แก่ บรรดาบุตรข้าราชการที่ถวายตัวเป็นมหาดเล็ก
# '''มหาดเล็กคงกรม''' ได้แก่ บรรดามหาดเล็กจำพวกต่างๆ คือ ''[[หม่อมราชวงศ์]]'' ''ยามค่ำเดือนหมาย ห้องเครื่อง หอศาสตราคม อินทร์พรหม เกณฑ์จ่าย ช่าง ต่างภาษา พิณพาทย์'' และ ''คนจำพวกที่จางวางหัวหมื่นและนายเวรจัดขึ้นรับราชการ'' และ ''บรรดาคนที่ไม่ได้ถวายตัว''
# '''มหาดเล็กยาม''' ได้แก่มหาดเล็กที่จางวางคัดเลือกจากมหาดเล็กวิเศษ หรือมหาดเล็กคงกรมที่มีคุณวุฒิสมควรเข้ารับราชการได้ ยกขึ้นเป็นมหาดเล็กประจำการเข้าเวรรับราชการที่ได้รับพระราชทานเงินเดือน...”
 
สำหรับ “'''มหาดเล็กไล่กา'''” ไม่จัดเข้าประเภทดังข้างต้น แต่เป็นทหารเด็กที่แต่เดิมเป็นเด็กผู้ชายที่เข้าไปอยู่ในวังกับญาติตั้งแต่ยังเล็ก ซึ่ง[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]ทรงมีลายพระหัตถ์ลงวันที่ [[21 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2485]] ทูล[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์]]ดังปรากฏในหนังสือ “[[สาส์นสมเด็จ”สมเด็จ]]” สรุปความได้ว่ามีมาแต่สมัย[[รัชกาลที่ 3]] ที่โปรดให้เด็กเล็กดังกล่าวเป็น''พนักงานไล่กา'' ณ ที่ทรงบาตร จึงเรียกกันว่า “''มหาดเล็กไล่กา''” ต่อมา[[สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง]]เมื่อแรกเสวยราชย์ ได้โปรดให้รื้อฟื้นมาใช้ในราชสำนักอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากเสด็จลงทรงบาตรทุกวัน และต่อมาได้โปรดให้เด็กที่ทำหน้าที่ไล่กาแต่งเครื่องแบบและฝึกทหารรวมจำนวนกันได้ประมาณ 30 คน และว่าอาจเป็นการเริ่มแรกที่จะมีทหารมหาดเล็กด้วย ต่อมาถึง [[พ.ศ. 2413]] เมื่อมีการแห่[[โสกันต์]]พระเจ้าน้องนางเธอฝ่ายใน ได้โปรดให้ทหารมหาดเล็กไล่กาเดินนำกระบวนแห่
 
== หน้าที่ ==
เส้น 27 ⟶ 25:
 
== ลำดับศักดิ์ ==
[[สารานุกรม]]ไทยฉบับ[[ราชบัณฑิตยสถาน]]อธิบายว่า “''มหาดเล็กบรรดาศักดิ์''" เป็นมหาดเล็กที่สูงสุดเพราะได้รับพระราชทาน[[สัญญาบัตร]] ส่วน “''มหาดเล็กวิเศษ''" หมายถึงบุตรข้าราชการที่ถวายตัวซึ่งค่อนข้างเป็นผู้ดี “''มหาดเล็กจงกรม''” มีความหมายกว้าง ส่วน “''มหาดเล็กยาม''” หมายถึงมหาดเล็กที่จางวางคัดตัวจากมหาดเล็กวิเศษและมหาดเล็กจงกรมที่มีคุณวุฒิยกเป็นมหาดเล็กประการรับราชการได้ และได้รับพระราชทานเงินเดือน และว่ามหาดเล็กที่มีคุณภาพจริงๆ คือ “''มหาดเล็กบรรดาศักดิ์''” และ “''มหาดเล็กยาม''” ตำแหน่งต่างๆ ในกรมมหาดเล็กมี 7 ชั้น ดังนี้
[[สารานุกรม]]ไทยฉบับ[[ราชบัณฑิตยสถาน]]อธิบายว่า
 
“''มหาดเล็กบรรดาศักดิ์''" เป็นมหาดเล็กที่สูงสุดเพราะได้รับพระราชทานสัญญาบัตร
 
“''มหาดเล็กวิเศษ''" หมายถึงบุตรข้าราชการที่ถวายตัวซึ่งค่อนข้างเป็นผู้ดี
 
“''มหาดเล็กจงกรม''” มีความหมายกว้าง
 
“''มหาดเล็กยาม''” หมายถึงมหาดเล็กที่จางวางคัดตัวจากมหาดเล็กวิเศษและมหาดเล็กจงกรมที่มีคุณวุฒิยกเป็นมหาดเล็กประการรับราชการได้ และได้รับพระราชทานเงินเดือน และว่ามหาดเล็กที่มีคุณภาพจริงๆ คือ “''มหาดเล็กบรรดาศักดิ์''” และ “''มหาดเล็กยาม''” ตำแหน่งต่างๆ ในกรมมหาดเล็กมี 7 ชั้น ดังนี้
# ผู้บัญชาการกรมมหาดเล็ก
# จางวาง หัวหมื่น
เส้น 97 ⟶ 87:
พระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง จึงไม่โปรดฯ ตั้งพระราชโอรสพระองค์ใดเป็นผู้บัญชาการกรมมหาดเล็กอีก ว่ากันว่าทรงมีพระราชปรารภถึง [[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ]] ว่าเมื่อโปรดเกล้าฯ ให้ทรงดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการกรมทหารมหาดเล็กได้ไม่นานก็สวรรคต
พระชันษาเพียง ๑๗ ครั้นทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าฯ กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์ได้ไม่ทันไรก็สิ้นพระชนม์อีก ทำให้ทรงพระราชดำริว่า ตำแหน่งนี้อาจมีอาถรรพ์ จึงไม่โปรดฯ ตั้งพระราชโอรสพระองค์ใดอีก คงว่างอยู่ตลอดรัชกาล
สมัย[[รัชกาลที่ 6]] ผู้บัญชาการได้แก่ พลเอก จางวางเอก มหาเสวกเอก [[เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)|เจ้าพระยารามราฆพ]] (ม.ล. เฟื้อ พึ่งบุญ)]] ตำแหน่งอื่นนอกจากนี้ได้มีการจำแนกตำแหน่งอื่นๆ เช่น[[จางวาง]][[ หัวหมื่น ]][[นายเวร ]][[นายจ่า]][[ หุ้มแพร]]และ[[รองหุ้มแพร]]ออกเป็นหลายชั้น
 
=== ชั้นยศ ===
ยศมหาดเล็กเมื่อเทียบยศทหารจะได้ดังนี้
::จางวางเอก= เทียบเท่า พลเอก
::จางวางโท= เทียบเท่า พลโท
::จางวางตรี= เทียบเท่า พลตรี
::หัวหมื่น= เทียบเท่า พันเอก
::รองหัวหมื่น= เทียบเท่า พันโท
::จ่า= เทียบเท่า พันตรี
::หุ้มแพร= เทียบเท่า ร้อยเอก
::รองหุ้มแพร= เทียบเท่า ร้อยโท
::มหาดเล็กวิเศษ= เทียบเท่า ร้อยตรี
::มหาดเล็กสำรอง= เทียบเท่า ว่าที่ ร้อยตรี
 
== มหาดเล็กหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ==
เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติได้โปรดเกล้าฯ ให้ยุบตำแหน่งมหาดเล็กบางตำแหน่ง แต่เมื่อภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ [[พ.ศ. 2475]] [[คณะราษฎร]]ได้ลดฐานะกรมมหาดเล็กลงมาเป็นเพียง “กองมหาดเล็ก” สังกัด[[สำนักพระราชวัง]] และให้ข้าราชการมหาดเล็กมีฐานะเป็น[[ข้าราชการพลเรือน]] ให้มีเลขาธิการและรองเลขาธิการสำนักพระราชวังเป็นผู้บังคับบัญชา
 
กระทั่ง พ.ศ. 2560 ได้มีการยกฐานะกองมหาดเล็กขึ้นเป็น [[กรมมหาดเล็ก]] ในสังกัดสำนักพระราชวังมีอธิบดีกรมมหาดเล็กเป็นผู้บังคับบัญชาและให้มหาดเล็กมีฐานะเป็น [[ข้าราชการพลเรือนในพระองค์]]
 
== อ้างอิง ==