ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระท้อน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 1 as dead.) #IABot (v2.0.8
แก้ไขลิงก์เสียและปรับปรุงอ้างอิง
บรรทัด 1:
{{ชื่ออื่น|ผลไม้|วงดนตรี|กะท้อน}}
{{ตารางจำแนกพันธุ์
{{Taxobox
| name = กระท้อน
| image = Sandoricum koetjape Blanco1.127.png
บรรทัด 18:
}}
 
'''กระท้อน''' เป็นไม้ผลเขตร้อนยืนต้นใน[[วงศ์กระท้อน]] (Meliaceae) ที่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในบริเวณ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ผลกระท้อนมีสีสะดุดตา เป็นต้นไม้ที่ทนแล้งได้ดี<ref>''สวนอนุรักษ์และพัฒนาพรรณไม้เขตร้อน,''. กรมวิชาการเกษตร. {{ISBN |978-974-436-697-9}}.</ref>
 
== ลักษณะ ==
[[ไฟล์:MatureGratorn Santolกระท้อน treefruit, in the Philippines -- 2Santol.jpg|thumb|left|ต้นและใบผลของกระท้อน]]
[[ไฟล์:GratornMature กระท้อนSantol fruit,tree Santolin the Philippines -- 2.jpg|thumb|ผลต้นและใบของกระท้อน]]
กระท้อนเป็นไม้ยืนต้น สูงประมาณ 15 - 15–30 [[เมตร]] อายุขัยเฉลี่ยประมาณ 40 - 40–50 ปี เปลือกต้นสีเทา ใบประกอบ มีใบย่อย 3 ใบ การเกาะติดของใบบนกิ่งแบบเรียงสลับ ใบย่อยรูปรีแกมไข่จนถึงขอบขนาน ขนาดประมาณ กว้าง 6 - 6–15 ซม. ยาว 8 - 8–20 ซม. เมื่อใบแก่จัดจะเปลี่ยนเป็นสีส้มแดงดอกออกเป็นช่อ ที่ซอกใบบริเวณปลายกิ่ง ดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกสีเหลืองนวล
 
ผล ผลอ่อนสีเขียวมีน้ำยางสีขาว เมื่อผลแก่เปลือกผลจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองและมีน้ำยางน้อยลง รูปกลมแป้น ผิวมีขนแบบกำมะหยี่อ่อนนุ่ม ขนาดประมาณ 5 - 5–15 [[เซนติเมตร]] ภายในผลจะมีเมล็ด 3-3–5 เมล็ด และมีปุยสีขาวหุ้มอยู่ ปุยที่รับประทานได้นี้พัฒนามาจากเปลือกหุ้มเมล็ด ซึ่งลักษณะ ของปุยและรสชาติจะแตกต่างกันออกไปในแต่ละพันธุ์ เมล็ดรูปรี มีปลอกเหนียวห่อหุ้ม
 
== ถิ่นกำเนิดและการกระจายพันธุ์ ==
เชื่อกันว่ากระท้อนมีถิ่นกำเนิดใน[[อินโดจีน]]และ[[มาเลเซียตะวันตก]] ก่อนจะถูกนำไปปลูกที่[[ประเทศอินเดีย]], [[เกาะบอร์เนียว]], [[ประเทศอินโดนีเซีย]], [[หมู่เกาะโมลุกกะ]], [[ประเทศมอริเชียส]], และ[[ประเทศฟิลิปปินส์]] และกลายเป็นพืชท้องถิ่นไป กระท้อนถูกปลูกเป็นพืชเชิงพานิชย์พาณิชย์ตลอดพื้นที่ในเขตนี้
 
== ชื่อพื้นเมือง ==
{{Div col|colwidth=20em}}
* [[ภาษาฟิลิปิโน|ฟิลิปิโน]]: santol
* {{lang-fil|santol}}
* [[ภาษาอินโดนีเซีย|อินโดนีเซีย]]: kecapi, ketuat, sentul
* {{lang-id|kecapi, ketuat, sentul}}
* [[ภาษามลายู|มลายู]]: kecapi, kelampu, ranggu
* [[ภาษาอาเจะฮ์|อาเจะฮ์]]: {{lang|ace|seutui}}
* [[ภาษาไทย|ไทย]]: กระท้อน, สะท้อน; มะต้อง หรือ มะตื๋น (ภาคเหนือ) บักต้อง (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ภาคใต้เรียกล่อน เตียน สะตูและสะโต ชื่อ[[จังหวัดสตูล]]มาจากภาษามลายูหมายถึงกระท้อน
* {{lang-ms|kecapi, kelampu, ranggu}}
* [[ภาษาพม่า|พม่า]]: {{my|သစ်တို }}thi' tou {{IPA-my|θɪʔ tò|}}
* [[ภาษามลายูเกอดะฮ์|มลายูเกอดะฮ์]]: {{lang|meo|ستول}} , {{lang|meo|setul|italic=yes}} (ชื่อ[[จังหวัดสตูล]]มาจากภาษามลายูเกอดะฮ์ หมายถึงกระท้อน)
* [[ภาษาฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]]: faux mangoustanier, santol
* [[ภาษาไทย|ไทย]]: กระท้อน, สะท้อน; มะต้อง หรือ, มะตื๋น (ภาคเหนือ); บักต้อง (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ); ภาคใต้เรียก{{lang|sou|ล่อน, เตียน, สะตูและ, สะโต}} ชื่อ[[จังหวัดสตูล]]มาจากภาษามลายูหมายถึงกระท้อน(ภาคใต้)
* [[ภาษาเขมร|เขมร]]: បំពេញ​រាជ្យ (ក្រពេញរាជ, លោះ) [krɑpɨɲ riec]
* [[ภาษาพม่า|พม่า]]: {{lang-my|သစ်တို }} ''thi' tou'' {{IPA-my|θɪʔ tò|}}
* [[ภาษาลาว|ลาว]]: ໝາກຕ້ອງ [mȁːktɔ̂ːŋ]
* {{lang-vi|sấu đỏ}}
* [[ภาษาสิงหล|สิงหล]]: donka
* [[ภาษาเขมร{{lang-km|เขมร]]: បំពេញ​រាជ្យ}} ({{lang|km|ក្រពេញរាជ, លោះ)}} [krɑpɨɲkrɑpɨɲ riec], {{lang|km|លោះ}})
* อังกฤษ: santol
* {{lang-lo|ໝາກຕ້ອງ}} [mȁːktɔ̂ːŋ]
* {{lang-si|ඩොංකා}} [ḍoṁkā], ''donka''
* {{lang-ml|സാന്റോൾ}}
* {{lang-fr|faux mangoustanier, santol}}
* {{lang-en|santol|italic=yes}}
{{Div col end}}
 
== สายพันธุ์ ==
พันธุ์ที่ได้รับความนิยมสูงสูดเป็นพันธุ์กระท้อนห่อที่มีรสหวาน ได้แก่ พันธุ์อีล่า ปุยฝ้าย นิ่มนวล อินทรชิต ทับทิม ขันทอง เทพรส อีแดง ส่วนพันธุ์พื้นเมืองจะมีผลดก ผลมีขนาดเล็ก รสเปรี้ยว จึงนิยมนำมาทำเป็น กระท้อนดอง [[กระท้อนทรงเครื่อง]]<ref>http{{Cite news |url=https://wwwd.tistrdailynews.orco.th/tagriculture/publication519925/page_area_show_bc.asp?i1 |title=65&i2=16{{ลิงก์เสียเรื่องน่ารู้: กระท้อน |date=กันยายน29 2021August 2016 |botwork=InternetArchiveBot[[เดลินิวส์]] |fixdf=dmy-attempted=yes all}}</ref>
 
=== พันธุ์ปุยฝ้าย ===
พันธุ์ปุยฝ้ายหรือปุยฝ้ายแท้เป็นกระท้อนพันธุ์พื้นเมืองของ ต.ตำบลตะลุง อำเภอเมือง [[จังหวัดลพบุรี]] เป็นที่นิยมบริโภคมากที่สุด เพราะผลกระท้อนมีรสหวาน มีเปลือกที่นิ่มเหมือนกำมะหยี่ และเม็ดกระท้อนมีปุยเหมือนปุย[[ฝ้าย]] จึงเป็นกระท้อนที่จำหน่ายได้สูงสุด ขนาดของผลมีตั้งแต่เล็กไปถึงใหญ่ สีเหลืองนวลสวย ผลกลมแป้น เม็ดกระท้อนจะมีปุยมากกว่าสายพันธุ์อื่น ปุยกระท้อนเมื่อทานไปแล้วจะเหมือนว่า ปุยกระท้อนละลายในปาก ชาวสวนกระท้อนนิยมเรียกว่าปุยฝ้ายแท้ เป็นพันธุ์ที่กลายมาจากพันธุ์ทองหยิบ<ref name="นิดา">นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน์. "กระท้อน" ใน ''ผลไม้ 111 ชนิด: คุณค่าอาหารและการกิน''. กทม.กรุงเทพฯ: แสงแดด. ตุลาคม 2550. หน้า 23. {{ISBN|978-974-9665-74-9}}.</ref>
 
=== พันธุ์อีล่า ===
พันธุ์อีล่าหรือปุยฝ้ายเกษตรเป็นกระท้อนพันธุ์พื้นเมือง จ.[[จังหวัดปราจีนบุรี]] ซึ่งชาวบ้าน ต.ตะลุง ได้รับแจกสายพันธุ์มาจากกระทรวงเกษตร เล่ากันว่าชาวปราจีนบุรี เรียกกระท้อนพันธุ์นี้ว่าปุยฝ้ายเหมือนกัน แต่แตกต่างกันที่รสชาติที่กระท้อนอีล่าเมื่อยังไม่แก่จัดจะมีรสอมเปรี้ยว และผลกระท้อนจะมีขนาดใหญ่มากบางผลน้ำหนักถึง 0.9 กิโลกรัม ขนาดของผลมีขนาดใหญ่ ผิวจะไม่เรียบ สีโทนเหลืองสด ผลคล้ายเป็นจุก รสอมเปรี้ยวเมื่อยังไม่แก่จัด หากผลแก่รสชาติจะหวานมีปุยเหมือนปุยฝ้ายกระท้อนพันธุ์อีล่า มักจะสุกช้ากว่ากระท้อนทุกพันธุ์
 
=== พันธุ์ทับทิม ===
เป็นกระท้อนพันธุ์เมืองดั้งเดิม ของ ต.ตะลุง แต่ไม่มีคนรู้จักมากนัก เนื่องจากมีชาวสวนที่ปลูกกระท้อนพันธุ์ทับทิมไม่มาก แต่ด้วยรสชาติที่มีรสหวาน ลักษณะผลกลม มีขนาดไม่ใหญ่มาก สีเหลืองนวล ผิวกระท้อนเรียบเนียนสวย เปลือกนิ่ม ผลกลม
 
=== พันธุ์นิ่มนวล ===
เป็นกระท้อนที่มีลักษณะ เปลือกบาง เนื้อหนานิ่ม ไม่กระด้าง ปุยหุ้มเมล็ดหนาฟู รสหวานจัดเป็นสายพันธุ์ที่นิยมบริโภคกันมาก ทรงผลกลมแป้น มีขั้วสั้น ผิวเปลือกเรียบมีสีเหลืองอมน้ำตาล เปลือกบาง ขนาดผล 300 - 300–600 กรัมต่อผล ผลกลม
 
== การใช้ประโยชน์ ==
[[ไฟล์:Krathon somtam818.jpg|thumb|ตำกระท้อน]]
กระท้อนใช้ทำอาหารคาวหวานได้หลายชนิด ทั้งอาหารคาว เช่น แกงฮังเล แกงคั่ว ผัด ตำกระท้อน และอาหารหวาน เช่น กระท้อนทรงเครื่อง กระท้อนลอยแก้ว กระท้อนดอง แยม กระท้อนกวน และเยลลี่ หรือกินเป็นผลไม้สด กระท้อนเป็นผลไม้ที่มี[[สารต้านอนุมูลอิสระ]]สูง<ref name="นิดา" /> ในบิโกล{{ไม่ตัด|[[เขตบีโคล]]}} ประเทศฟิลิปปินส์ นำกระท้อนไปแกงกับกะทิ
 
ทางด้านสมุนไพร กระท้อนมีสรรพคุณทางยาหลายประการ ใบสด ใช้ขับเหงื่อ ต้มอาบแก้ไข้ เปลือกต้นต้มน้ำดื่มแก้[[ท้องเสีย]] รักษา[[โรคผิวหนัง]] [[กลากเกลื้อน]] ราก เป็นยาขับลม แก้ท้องเสีย [[บิด]] เป็นยาธาตุ<ref>{{Cite web |url=http://www.chiangmainews.co.th/viewnews.php?id=19060&lyo=1 |title=สำเนาที่เก็บถาวรกระท้อน |work=[[เชียงใหม่นิวส์]] |access-date=2007-1110-1116 |archive-date=2007-10-19 |archive-url=https://web.archive.org/web/20071019145321/http://chiangmainews.co.th/viewnews.php?id=19060&lyo=1 |url-status=dead |df=dmy-all}}</ref> หลายส่วนของกระท้อนมีฤทธิ์แก้อักเสบ<ref>Rasadah, M. A. et al. (2004). Anti-inflammatory agents from ''Sandoricum koetjape'' Merr. ''Phytomedicine''. '''11''':2 261-261–3.</ref> และสารสกัดจากกิ่งกระท้อนบางชนิดมีผลยับยั้งมะเร็งในหลอดทดลอง <ref>Norito Kaneda, et al (พฤษภาคม 1992). [http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/1517737 "Plant Anticancer Agents, L. Cytotoxic Triterpenes from Sandoricum koetjape Stems".]. [[''Journal of Natural Products]]''. '''55 (May 1992) ''': 654–659.</ref> สารสกัดจากเมล็ดกระท้อนมีฤทธิ์เป็นยาฆ่าแมลง<ref>{{Cite webjournal |url=httphttps://grandepubs.nalacs.usda.govorg/ibidsdoi/indexpdf/10.php?mode2=detail&origin=ibids_references&therow=2888531021/np50073a025 |title=Limonoid antifeedants from seed of Sandoricum koetjape<!-- Bot|author1=Richard generatedG. titlePowell -->|author2=Kenneth L. Mikolajczak |access-dateauthor3=2012-01-05Bruce W. Zilkowski |archiveauthor4=Ellen K. Mantus |author5=David Cherry |author6=Jon Clardy |display-authors=2 |journal=Journal of Natural Products |date=2008-08-071 January 1991 |archive-urlvolume=https://web54 |number=1 |pages=241–246 |doi=10.archive.org/web/200808070312241021/http://grande.nal.usda.gov/ibids/index.php?mode2=detailnp50073a025 |url-statusaccess=deadsubscription |df=dmy-all}}</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{commonscatคอมมอนส์-หมวดหมู่|Sandoricum koetjape|''Sandoricum koetjape''}}
{{wikispeciesวิกิสปีชีส์-inlineบรรทัด|Sandoricum koetjape}}
* Morton, J. 1987. [http://www.hort.purdue.edu/newcrop/morton/santol.html Horticultural InfoSantol]. หน้า 199–201. ใน: ''Fruits of warm climates''. Miami, FL: J.F. Morton. {{ISBN|978-0-9610184-1-2}}.
* [{{Cite web |url=http://www.ars-grin.gov/cgi-bin/npgs/html/tax_search.pl?Sandoricum%20koetjape GRIN|title=''Sandoricum Page]koetjape'' |archive-url=https://archive.fo/evlI |archive-date=12 December 2012 |website=Germplasm Resources Information Network |df=dmy-all}}
{{Break}}
 
{{Taxonbar|from=Q913452}}
[[หมวดหมู่:ผลไม้]]
[[หมวดหมู่:สมุนไพร]]