ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พุทธศักราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 2:
{{พุทธศาสนา}}
 
'''พุทธศักราช''' ย่อว่า '''พ.ศ.''' เป็น[[ศักราช]]ที่เริ่มนับเมื่อ[[พระโคตมพุทธเจ้า]]ปรินิพพาน ใน[[ประเทศไทย]]เริ่มนับเมื่อปรินิพพานแล้ว 1 ปี ประเทศไทยเป็นปี พ.ศ. 25642565 ส่วนในประเทศอื่น ๆ จะเป็นปี พ.ศ. 25652566 เช่น[[ประเทศพม่า]] ส่วนใน[[ประเทศศรีลังกา]]เปลี่ยนศักราชใน[[วันวิสาขบูชา]]
 
เช่น[[ประเทศพม่า]] ส่วนใน[[ประเทศศรีลังกา]]เปลี่ยนศักราชใน[[วันวิสาขบูชา]]
ประเทศเถรวาทอื่นๆ คือ ลาว กัมพูชา พม่า ศรีลังกา จะเริ่มนับศักราชหลังวันพระพุทธเจ้านิพพานหนึ่งวันเลย ยกเว้นประเทศไทยที่นับช้ากว่าทุกประเทศ 1 ปี เช่นประเทศอื่นเป็นปี 2565 แต่ประเทศไทยยังเป็นปี 2564 เนื่องจากประเทศไทยสมัยโบราณมีประเพณีนับศักราชก่อนเทศนา ที่ขึ้นว่า "สิริศุภมัสดุ พุทธศาสนายุกาล จำเดิมแต่พระบรมศาสดาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จดับขันธเข้าสู้ปรินิพพานเมื่อวันอังคาร เพ็ญเดือน 6 ปีมะเส็ง บัดนี้ล่วงแล้ว 2564 พรรษาปัจจุบันสมัย มกราคมมาสวันที่ 6 วันพุธ แรม 8 ค่ำ เดือน 2 ปีชวด เป็นปัจจุบันวาร พุทธศาสนายุกาลจำเดิมแต่วันปรินิพพานแห่งองค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าภาคนั้น มีนัยจะพึงกำหนดนับด้วยประการฉะนี้" จึงเป็นเหตุให้ประเทศไทยนับศักราชช้ากว่าประเทศเถรวาทด้วยกัน 1 ปี เนื่องจากการนับศักราชต้องนับเต็มพรรษาถือเป็น 1 พรรษา จึงทำให้ศักราชของไทยช้าลง 1 ปี
 
ประเทศเถรวาทอื่นๆ คือ ลาว กัมพูชา พม่า ศรีลังกา จะเริ่มนับศักราชหลังวันพระพุทธเจ้านิพพานหนึ่งวันเลย ยกเว้นประเทศไทยที่นับช้ากว่าทุกประเทศ 1 ปี เช่นประเทศอื่นเป็นปี 25652566 แต่ประเทศไทยยังเป็นปี 25642565 เนื่องจากประเทศไทยสมัยโบราณมีประเพณีนับศักราชก่อนเทศนา ที่ขึ้นว่า "สิริศุภมัสดุ พุทธศาสนายุกาล จำเดิมแต่พระบรมศาสดาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จดับขันธเข้าสู้ปรินิพพานเมื่อวันอังคาร เพ็ญเดือน 6 ปีมะเส็ง บัดนี้ล่วงแล้ว 25642565 พรรษาปัจจุบันสมัย มกราคมมาสวันที่ 6 วันพุธ แรม 8 ค่ำ เดือน 2 ปีชวด เป็นปัจจุบันวาร พุทธศาสนายุกาลจำเดิมแต่วันปรินิพพานแห่งองค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าภาคนั้น มีนัยจะพึงกำหนดนับด้วยประการฉะนี้" จึงเป็นเหตุให้ประเทศไทยนับศักราชช้ากว่าประเทศเถรวาทด้วยกัน 1 ปี เนื่องจากการนับศักราชต้องนับเต็มพรรษาถือเป็น 1 พรรษา จึงทำให้ศักราชของไทยช้าลง 1 ปี
 
นอกจากนี้ ยังมีคำว่า "พุทธกาล" และ "พุทธสมัย" ใช้กล่าวถึงช่วงเวลาที่พระโคตมพุทธเจ้ายังมีพระชนม์อยู่ คือ ช่วงเวลา 80 ปีก่อนพุทธศักราช แต่บางทีก็ใช้คำเหล่านี้หมายถึง ช่วงเวลาที่เชื่อว่า พุทธศาสนาจะดำรงอยู่หลังการปรินิพพานของพระโคตมพุทธเจ้า ฉะนั้น จึงมีการใช้ ''x ปีก่อนพุทธกาล'' เพื่อหมายถึง ''x ปีก่อนพุทธศักราช'' เป็นต้น