ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้ากาวิละวงศ์ ณ เชียงใหม่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Viewwwwww (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Railway1234 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 39:
 
== การทำงาน ==
เจ้ากาวิละวงศ์ ณ เชียงใหม่ เข้ารับราชการเป็นนายช่าง สังกัด[[การรถไฟแห่งประเทศไทย|กรมรถไฟหลวง]]<ref name=ok/> และมีส่วนร่วมในการสร้าง[[สะพานพระราม 6]] เมื่อปี พ.ศ. 2469๒๔๖๙ ซึ่งได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เป็นพิเศษ ในพิธีเปิดสะพานในครั้งนั้นด้วย ตำแหน่งหน้าที่ราชการในกรมรถไฟหลวงมีดังนี้
#พ.ศ.๒๔๖๙ : ดำรงตำแหน่ง นายช่างบำรุงทางกรุงเทพ (วิศวกรกำกับการกองบำรุงทางเขตกรุงเทพ วบข.กท. ในปัจจุบัน)
#พ.ศ.๒๔๗๐ : ดำรงตำแหน่งนายช่างภาค
#พ.ศ.๒๔๗๑ : ย้ายไปปฏิบัติราชการกรมทาง(สมัยนั้นกรมทางขึ้นอยู่กับกรมรถไฟหลวง)และย้ายกลับมาปฏิบัติราชการที่กรมรถไฟหลวงตามเดิม ในเดือนธันวาคมปีเดียวกัน
#พ.ศ.๒๔๗๕ : ดำรงตำแหน่งนายช่างบำรุงทางปราจีนบุรี
#พ.ศ.๒๔๗๖ : ดำรงตำแหน่งนายช่างภาค กองแบบแผน กรมรถไฟหลวง และย้ายไปรับราชการกระทรวงวัง เดือนมิถุนายน ๒๔๗๖
 
ในสมัยที่เจ้ากาวิละวงศ์รับราชการในสังกัด[[กรมทางหลวง]] ดำรงตำแหน่งนายช่างกำกับการภาคอิสาณ ท่านได้เป็นผู้ออกแบบและอำนวยการก่อสร้างสะพานข้าม[[ลำโดมน้อย]]ในทางหลวงแผ่นดินสายวารินชำราบ-ช่องเม็ก (ปัจจุบันคือทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 217 [[ถนนสถิตนิมานการ]]) จนสำเร็จ รัฐบาลไทยจึงประกาศให้ขนานนามสะพานนี้ว่า "สะพานกาวิละวงศ์" เมื่อ พ.ศ. 2493 เพื่อเป็นเกียรติแก่ท่าน<ref>ราชกิจจานุเบกษา. [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2493/D/067/6377.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ตั้งชื่อทางหลวงแผ่นดินและสะพานขนาดใหญ่.] เล่ม ๖๗, ตอน ๖๗ ง, ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๓, หน้า ๖๓๗๗.</ref> สะพานแห่งนี้ทำเป็นรูปสะพานโค้ง ถือเป็นสะพานที่สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กที่ไม่มีเสากลางเป็นแห่งแรกของจังหวัดอุบลราชธานี นับว่าเป็นของแปลกใหม่สำหรับชาวจังหวัดอุบลราชธานีในยุคนั้น<ref>{{cite web |url=http://www.esanpedia.oar.ubu.ac.th/picture/?p=410f |title=สะพานโดม |author=ภาพเก่าเล่าเรื่อง..เมืองอุบลราชธานี โดย งานข้อมูลท้องถิ่น สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี |date= 26 ตุลาคม 2558 |work= |publisher= |accessdate= 5 พฤษภาคม 2563}}</ref>