ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐมหาราชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SpinnerLaserzthe2nd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
SpinnerLaserzthe2nd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
'''รัฐมหาราชา''' (Princely state) หรือที่ชาวอังกฤษเรียกว่า '''รัฐพื้นเมือง''' (Native state) เป็นรัฐที่ปกครองโดยเจ้าพื้นเมืองอินเดียในสมัย[[บริติชราช]]<ref>{{Harvnb|Ramusack|2004|pp=85}}</ref> โดยรัฐเหล่านี้ไม่ได้ถูกปกครองโดยตรงจาก[[จักรวรรดิอังกฤษ|อังกฤษ]] <ref>{{Harvnb|Ramusack|2004|p=87}}</ref> แต่เป็นพันธมิตรรายย่อยที่ยอมรับอำนาจที่เหนือกว่าของพระมหากษัตริย์อังกฤษ
 
รัฐมหาราชามีทั้งสิ้น 565 รัฐในช่วงที่[[อินเดีย]]และ[[ปากีสถาน]]ได้รับเอกราชในปี [[พ.ศ. 2490]]<ref>{{cite web |url=http://www.worldstatesmen.org/India_princes_K-W.html|title=Princely States of India K-Z |publisher=worldstatesmen|accessdate=30 January 2014}}</ref> แต่รัฐเหล่านั้นส่วนใหญ่มักมีสัญญาให้อุปราชแห่งอินเดียเป็นผู้ให้บริการสาธารณะและการจัดเก็บภาษี โดยมีรัฐมหาราชาเพียง 21 รัฐเท่านั้นที่มีรัฐบาลประจำรัฐเป็นของตนเอง ในกลุ่มนี้มีรัฐมหาราชาขนาดใหญ่อยู่ 4 รัฐคือ [[รัฐไฮเดอร์ราบัด|ไฮเดอร์ราบัด]] [[รัฐไมซอร์|ไมซอร์]] [[รัฐบาโรดา|บาโรดา]] และ [[รัฐมหาราชาชัมมูและกัศมีร์|รัฐชัมมูและกัศมีร์]] ในขณะที่มีรัฐมหาราชาประมาณ 200 กว่ารัฐที่มีพื้นที่น้อยกว่า 25 ตารางกิโลเมตร<ref name="Markovits2004">{{cite book|author=Markovits, Claude |title=A history of modern India, 1480–1950|url=http://books.google.com/books?id=uzOmy2y0Zh4C|year=2004|publisher=Anthem Press|pages=386–409}}</ref> ในช่วงที่อินเดียและปากีสถานได้รับเอกราช รัฐมหาราชาเหล่านี้จะรวมเข้าอยู่ใน 2 ชาติที่เกิดใหม่ในช่วงระหว่างปี .ศ. 19472490 - 19492492 โดยส่วนใหญ่แล้วการรวมเข้ากับชาติใหม่มักเป็นไปโดยสันติ มีเพียงบางรัฐเท่านั้นที่มีปัญหา เช่น ในกรณีของชัมมูและกัศมีร์ (ซึ่งมหาราชามีความประสงค์จะรวมเข้ากับอินเดีย แต่ปากีสถานได้เข้ามาอ้างสิทธิ์) <ref>{{cite book|last=Bajwa|first=Kuldip Singh|title=Jammu and Kashmir War, 1947-1948: Political and Military Perspectiv|year=2003|publisher=Hari-Anand Publications Limited|location=New Delhi|page=http://books.google.com/books?hl=en&lr=&id=7bREjE5yXNMC&oi=fnd&pg=PA21&dq=dogra+1948+tribal+pakistan+invasion&ots=B8Ib4XPpLr&sig=y_lQsLt4gQB-c32WiCgbnb7ZNh8#v=onepage&q=dogra%201948%20tribal%20pakistan%20invasion&f=false}}</ref> รวมไปถึงในกรณีของไฮเดอร์ราบัด บรรดามหาราชาในรัฐต่าง ๆ นั้นจะได้รับเงินบำเหน็จบำนาญ<ref>Wilhelm von Pochhammer, ''India's road to nationhood: a political history of the subcontinent'' (1981) ch 57</ref>
 
รัฐมหาราชาที่ยินยอมเข้าร่วมกับ[[ปากีสถาน]]ในช่วงระหว่างปี .ศ. 19472490 - 19582501 มีสถานะเปลี่ยนเป็น[[รัฐมหาราชาของปากีสถาน]] ซึ่งรัฐเหล่านี้มีอำนาจปกครองตนเองจนกระทั่งในช่วงทศวรรษ 1970
==ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐมหาราชากับอังกฤษ==
[[จักรวรรดิอังกฤษ]]ได้กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐมหาราชากับอังกฤษโดยการผ่านกฎหมาย Interpretation Act 1889 ของรัฐสภาอังกฤษ ซึ่งกำหนดไว้ว่า[[บริติชราช]]ประกอบไปด้วยดินแดนทั้งสิ้น 2 ประเภทคือ [[บริติชอินเดีย]]และรัฐมหาราชา โดยในกฎหมายฉบับนั้นได้ให้นิยามของคำดังนี้