ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขุนช้างขุนแผน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
อัตตะสันติ (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
อัตตะสันติ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 3:
{{ตารางวรรณคดี
| กวี = ไม่ทราบ....
| ชื่อมาตรฐาน = ขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดพระวชิรญาณ
| ประเภท = นิทาน/[[ตำนาน]]/ มหากาพย์
| คำประพันธ์ = [[กลอนสุภาพ]]/[[กลอนแปด]]
| ความยาว =
| สมัย = ราวอยุธยาตอนปลาย-รัตนโกสินทร์ตอนต้น
| ปีที่พิมพ์ = พ.ศ.2460 (ฉบับมาตรฐาน)
| ปี =
| ชื่ออื่น = -
| ลิขสิทธิ์ = [[กรมศิลปากร]]
}}
เส้น 19 ⟶ 20:
สำหรับเนื้อหาของขุนช้างขุนแผนในปัจจุบัน [[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]ได้โปรดเกล้าฯ ให้กวีในรัชสมัยของพระองค์ ตลอดจนพระองค์เองร่วมกันแต่งและทรงพระราชนิพนธ์ขี้นเป็น[[วรรณคดี]]ที่มีค่าทั้งในด้านความไพเราะและในลีลาการแต่ง ตลอดจนเค้าโครงเรื่อง ได้รับการยกย่องตาม'''พระราชบัญญัติวรรณคดีสโมสร'''ในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ว่าเป็นยอดของหนังสือประเภท[[กลอน]][[เสภา]] และได้รับประทับราชลัญจกรรูป[[พระคเณศร์]]ไว้เป็นเครื่องหมายของการยกย่องนั้นด้วย
 
หนังสือเรื่องขุนช้างขุนแผนนี้ ไม่เพียงแต่เป็นวรรณคดีสำหรับอ่านกันเล่น เพื่อได้รับรสวรรณคดีเป็นเครื่องบันเทิงใจเท่านั้น หากแต่บางตอนในวรรณคดีเรื่องนี้ยังเป็นหลักฐานที่ให้ความรู้ในเรื่องราวความเป็นอยู่ของผู้คนและบ้านเมืองในสมัยต้น[[รัตนโกสินทร์]] สมกับที่มีคำกล่าวว่า วรรณคดีเป็น[[กระจกเงา]]สะท้อนภาพความเป็นไปของบ้านเมืองในยุคนั้น ๆ ให้คนรุ่นหลัง ๆ ได้ทราบด้วย....(ตัดตอนส่วนหนึ่ง<ref> จากคำนำของ[[กรมศิลปากร]]ที่อนุญาตให้สำนักพิมพ์บรรณาคารจัดพิมพ์ขึ้นจำหน่าย ในการพิมพ์ครั้งที่ 13 พ.ศ. 2513).....</ref>
 
วรรณกรรมไทยเรื่องขุนช้างขุนแผน ได้รับการแปลเป็น[[ภาษาอังกฤษ]]ครั้งแรกในปี 2553 โดย[[ผาสุก พงษ์ไพจิตร|ศ.ดร.ผาสุก พงษ์ไพจิตร]] นักเศรษฐศาสตร์ชาวไทย และนายคริส เบเกอร์ <ref>[http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1293180201&grpid=03&catid=08 "ขุนช้างขุนแผน" ได้รับการแปลเป็นภาษาอังกฤษแล้ว]{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref>