ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชานชาลาด้านข้าง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
DMS WIKI (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 19:
[[ไฟล์:Stn-sideplat.gif|600px|thumbnail|center|รูปแบบชานชาลาด้านข้าง]]
เนื่องจากข้ามชานชลาด้านข้างจากฝั่งหนึ่งไปอีกฝั่ง ต้องผ่านทางรถไฟ ซึ่งบางครั้งการเดินข้ามรางอาจทำให้เกิดการอันตรายได้ จึงต้องมีวิธีการเดินผ่านที่แตกต่างกันดังนี้ ดังนี้
* เดินผ่านโดยใช้[[สะพานลอย]]ข้ามรางรถไฟ ซึ่งพบเห็นได้ตามสถานีรถไฟบางแห่ง เช่น [[สถานีรถไฟสามเสน]] [[สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ]] เป็นต้น รวมถึง[[สถานีวัดพระศรีมหาธาตุ]]ของ[[รถไฟฟ้าสายสีชมพู]] ก็ใช้วิธีข้ามชานชาลาในลักษณะเดียวกัน
* เดินผ่านโดยใช้ทางเดินลอดใต้รางรถไฟ ลักษณะนี้ไม่ค่อยได้พบเห็นบ่อยนัก การรถไฟฯ ได้นำทางเดินลอดใต้รางรถไฟมาใช้กับสถานี[[รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน]] ได้แก่[[สถานีบางบำหรุ]]
* เดินผ่านโดยใช้ชั้นจำหน่ายตั๋วซึ่งอยู่ชั้นล่าง ลักษณะพบเห็นได้มากในสถานี[[รถไฟฟ้าบีทีเอส]]และ[[รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]] ซึ่งสถานีเกือบทั้งหมด จะใช้ลักษณะนี้ เช่น [[สถานีหมอชิต]] [[สถานีอ่อนนุช]] เป็นต้น
* เดินผ่านโดยใช้ชั้นจำหน่ายตั๋วซึ่งอยู่ชั้นบน ลักษณะพบเห็นได้ในสถานีโครงสร้างใต้ดินของ[[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล]] ซึ่งพบเห็นได้ 3 สถานี คือ [[สถานีคลองเตย]] [[สถานีสีลม]] และ[[สถานีบางซื่อ (รถไฟฟ้ามหานคร)|สถานีบางซื่อ]]
 
==การใช้ในประเทศไทย==