ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นพเคราะห์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ganga999devi (คุย | ส่วนร่วม)
{{ระวังสับสน|ดาวนพเคราะห์}} {| class="infobox" style="width:2em;" |- style="text-align:center;" | colspan="3" |'''​​ เทวดานพเคราะห์<br>''' |- style="text-align:center;" | colspan="2" |250px|[[จิตรกรรม]] |- style="vertical-align:center;" |'''ศาสนา ''' | ศาสนาฮินดู​<br>ศาสนาพราหมณ์<br>ศาสนาฮินดูในประเทศไทย<br>ศาสนาฮินดูแบบบาหลี<br> |- style="vertical-align:top;" |'''ประเภท''' |เทพเจ้ารักษาดาวเคราะห์ |- style="vertical-
บรรทัด 1:
 
{{ระวังสับสน|ดาวนพเคราะห์}}
{| class="infobox" style="width:2em;"
|- style="text-align:center;"
| colspan="3" |'''​​ เทวดานพเคราะห์<br>'''
|- style="text-align:center;"
| colspan="2" |[[File:Navagraha.jpg|250px|[[จิตรกรรม]]]]
|- style="vertical-align:center;"
|'''[[พหุเทวนิยม|ศาสนา]] '''
| [[ศาสนาฮินดู ]]<br>[[ศาสนาพราหมณ์]]<br>[[ศาสนาฮินดูในประเทศไทย]]<br>[[ศาสนาฮินดูแบบบาหลี]]<br>
|- style="vertical-align:top;"
|'''ประเภท'''
|[[เทวดาในศาสนาฮินดู|เทพเจ้า]]รักษา[[ดาวเคราะห์]]
|- style="vertical-align:top;"
|'''หน้าที่'''
| รักษา[[วัน]]ประจำสัปดาห์
|- style="text-align:center;"
|
|}
 
'''เคราะห์''' ([[ภาษาสันสกฤต]]: ग्रह, gráha ''คระ-หะ'' ซึ่งหมายความว่า ฉกฉวย, จับ, คว้า, ยึด) คือสิ่งที่มีอำนาจใน[[จักรวาล]]ของพระภูมิเทวี ([[โลก]])
'''นพเคราะห์''' ([[ภาษาสันสกฤต]]: नवग्रह, gráha ''นะ-วะ-คระ-หะ'') หมายความว่า ๙ ภูมิ, ๙ ขอบเขต, ๙ โลก, ๙ ดาวเคราะห์
 
== เทวดานพเคราะห์ ==
== พระอาทิตย์ ==
{| class="wikitable"
[[ไฟล์:Surya graha.JPG|thumb|120px|พระอาทิตย์]]
|+เทวนพเคราะห์:
{{main|พระอาทิตย์}}
!ลำดับเลข
!รูป
!นาม
![[ศักติ|เทพชายา]]
![[ดาวเคราะห์]]
![[วัน]]
|-
|1.
|[[ไฟล์:Surya graha.JPG|90px]]
|{{main|พระอาทิตย์}}
'''พระอาทิตย์''' ([[เทวนาครี]]: सूर्य, สูรยะ) เป็น'''เทวดานพเคราะห์'''องค์หนึ่ง มีอำนาจเหนือกว่าเทวดานพเคราะห์ทั้งหลาย ในคติไทย พระอาทิตย์ถูกสร้างขึ้นมาจากราชสีห์ ๖ ตัว บดป่นเป็นผง ห่อผ้า[[สีแดง]] แล้วเสก ได้เป็นพระอาทิตย์ มีสีวรกายแดง ทรงราชสีห์เป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และแสดงถึงสระทั้งหมดในภาษาบาลี (อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ)
 
เส้น 11 ⟶ 40:
 
ในโหราศาสตร์ไทย พระอาทิตย์ถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ ๑ และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากราชสีห์ ๖ ตัวนี้เอง จึงทำให้มีกำลังพระเคราะห์เป็น ๖ สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันอาทิตย์ก็คือ[[ปางถวายเนตร]]
|[[พระนางศรัณยา]] <br>[[พระนางฉายา]]<br>[[พระอุษาเทวี]]
 
|[[ดวงอาทิตย์]]
== พระจันทร์ ==
|[[วันอาทิตย์]]
[[ไฟล์:Chandra graha.JPG|thumb|140px|พระจันทร์]]
|-
{{main|พระจันทร์}}
|2.
|[[ไฟล์:Chandra graha.JPG|90px]]
|{{main|พระจันทร์}}
 
'''พระจันทร์''' ([[อักษรเทวนาครี|เทวนาครี]]: चंद्र) เป็น'''เทวดานพเคราะห์'''องค์หนึ่ง ในคติไทย พระจันทร์ถูกสร้างขึ้นมาจากนางอัปสร (นางฟ้า) ๑๕ องค์ บดป่นเป็นผง ห่อผ้า[[สีขาว]]นวล แล้วเสกได้เป็นพระจันทร์ มีสีวรกายขาวนวล ทรงอาชา ([[ม้า]]) เป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศตะวันออก และแสดงถึงอักษรวรรค กะ (ก ข ค ฅ ฆ ง)
เส้น 21 ⟶ 53:
 
ในโหราศาสตร์ไทย พระจันทร์ถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ ๒ และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากนางฟ้า ๑๕ องค์ จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น ๑๕ สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันจันทร์ก็คือ[[ปางห้ามสมุทร]]
|[[พระนางโรหิณี ]] และเทวีนักษัตร รวม ๒๗ นาง
 
|[[ดวงจันทร์]]
== พระอังคาร ==
|[[วันจันทร์]]
[[ไฟล์:Angraka graha.JPG|130px|thumb|พระอังคาร]]
|-
{{main|พระอังคาร}}
|3.
|[[ไฟล์:Angraka graha.JPG|90px]]
|{{main|พระอังคาร}}
'''พระอังคาร''' ([[เทวนาครี]]: मंगल, มังคละ) เป็น'''เทวดานพเคราะห์'''องค์หนึ่ง ในคติไทย พระอังคารถูกสร้างขึ้นมาจากกระบือ ([[ควาย]]) ๘ ตัว บดป่นเป็นผง ห่อผ้า[[สีชมพู]]หม่น แล้วเสกได้เป็นพระอังคาร มีสีวรกายชมพู ทรงมหิงสาเป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศตะวันออกเฉียงใต้ และแสดงถึงอักษรวรรค จะ (จ ฉ ช ฌ ญ)
 
เส้น 30 ⟶ 65:
 
ในโหราศาสตร์ไทย พระอังคารถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ ๓ และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากกระบือ ๘ ตัว จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น ๘ สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันอังคารก็คือ[[ปางไสยาสน์]]และภายหลังมี[[ปางลีลา]]เพิ่มอีกหนึ่งปาง
|พระนางชวาลินี (Jwalini )
 
|[[ดาวอังคาร]]
== พระพุธ ==
|[[วันอังคาร]]
[[ไฟล์:Budha graha.JPG|130px|thumb|พระพุธ]]
|-
{{main|พระพุธ}}
|4.
|[[ไฟล์:Budha graha.JPG|90px]]
|{{main|พระพุธ}}
'''พระพุธ''' ([[อักษรเทวนาครี|เทวนาครี]]: बुध, พุธ) เป็นเทวดานพเคราะห์องค์หนึ่ง ในคติไทย พระพุธถูกสร้างขึ้นมาจากคชสาร ([[ช้าง]]) ๑๗ เชือก บดป่นเป็นผง ห่อผ้า[[สีเขียว]]ใบไม้ แล้วเสกได้เป็นพระพุธ มีพระวรกายเขียว ทรงราชสีห์เป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศใต้ และแสดงถึงอักษรวรรค ฏะ ใหญ่ (ฏ ฐ ฑ ฒ ณ)
 
เส้น 39 ⟶ 77:
 
ในโหราศาสตร์ไทย พระพุธถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ ๔ และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากคชสาร ๑๗ เชือก จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น ๑๗ สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันพุธก็คือ[[ปางอุ้มบาตร]]
|[[อิลราชคำฉันท์|พระนางอิลา]]
 
|[[ดาวพุธ]]
== พระพฤหัสบดี ==
|[[วันพุธ]]
[[ไฟล์:Brihaspati graha.JPG|130px|thumb|พระพฤหัสบดี]]
|-
{{main|พระพฤหัสบดี}}
|5.
|[[ไฟล์:Brihaspati graha.JPG|90px]]
|{{main|พระพฤหัสบดี}}
'''พระพฤหัสบดี''' ([[อักษรเทวนาครี|เทวนาครี]]: बृहस्पति, พฤหัสบดี) เป็น'''เทวดานพเคราะห์'''องค์หนึ่ง ในคติไทย พระพฤหัสบดีถูกสร้างขึ้นมาจากฤษี ๑๙ ตน บดป่นเป็นผง ห่อผ้าสีเหลืองส้ม แล้วเสกได้เป็นพระพฤหัสบดี มีสีวรกายส้มแดง ทรงมฤค ([[กวาง]]) เป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศตะวันตก และแสดงถึงอักษรวรรค ปะ (บ ผ พ ภ ม) พระพฤหัสบดีจัดว่าเป็นครูของ[[เทวดา]]ทั้งหลาย จึงนิยมทำพิธีไหว้ครูในวันพฤหัสบดี
 
เส้น 48 ⟶ 89:
 
ในโหราศาสตร์ไทย พระพฤหัสบดีถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ ๕ และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากฤษี ๑๙ ตน จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น ๑๙ สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันพฤหัสบดีก็คือ[[ปางสมาธิ]]
|[[พระนางดารา]]
 
|[[ดาวพฤหัสบดี]]
== พระศุกร์ ==
|[[วันพฤหัสบดี]]
[[ไฟล์:Shukra graha.JPG|130px|thumb|พระศุกร์]]
|-
{{main|พระศุกร์}}
|6.
|[[ไฟล์:Shukra graha.JPG|90px]]
|{{main|พระศุกร์}}
'''พระศุกร์''' ([[อักษรเทวนาครี|เทวนาครี]]: बृहस्पति) เป็น'''เทวดานพเคราะห์'''องค์หนึ่ง ในคติไทย พระศุกร์ถูกสร้างขึ้นมาจากโค ([[วัว]]) ๒๑ ตัว (บางตำรากล่าวว่าสร้างจากเทพยาธร-ครึ่งเทพครึ่งมนุษย์) บดป่นเป็นผง ห่อผ้า[[สีฟ้า]]อ่อน แล้วเสกได้เป็นพระศุกร์ มีสีวรกายฟ้า ทรงคาวีเป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศเหนือ และแสดงถึงเศษวรรคที่ ๒ (ส ห ฬ อ) พระศุกร์จัดเป็นครูของพวกยักษ์ ซึ่งตรงข้ามกับพระพฤหัสบดีที่เป็นครูของเทพ
 
เส้น 57 ⟶ 101:
 
ในโหราศาสตร์ไทย พระศุกร์ถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ ๖ และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากโค ๒๑ ตัว จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น ๒๑ สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันศุกร์ก็คือ[[ปางรำพึง]]
| [[พระนางชยันตี]], พระนางอุรจลาวดี (Urjjasvati) และพระนางสัปตปาวลา (Sataparva)<ref>Puranic Encyclopedia: a comprehensive dictionary with special reference to the epic and Puranic literature, Vettam Mani, Motilal Banarsidass, Delhi, 1975, p. [https://archive.org/stream/puranicencyclopa00maniuoft#page/760/mode/2up 760].</ref>
 
|[[ดาวศุกร์]]
== พระเสาร์ ==
|[[วันศุกร์]]
[[ไฟล์:Shani graha.JPG|130px|thumb|พระเสาร์]]
|-
{{main|พระเสาร์}}
|7.
|[[ไฟล์:Shani graha.JPG|90px]]
|{{main|พระเสาร์}}
'''พระเสาร์''' ([[เทวนาครี]]: शनि, ศนิ) เป็น'''เทวดานพเคราะห์'''องค์หนึ่ง ในคติไทย พระเสาร์ถูกสร้างขึ้นมาจากพยัคฆ์ ([[เสือ]]) ๑๐ ตัว บดป่นเป็นผง ห่อผ้า[[สีดำ]] แล้วเสกได้เป็นพระเสาร์มีสีวรกายดำคล้ำ ทรงพยัคฆ์เป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศตะวันตกเฉียงใต้ และแสดงถึงอักษรวรรค ตะ เล็ก (ต ถ ท ธ น)
 
เส้น 66 ⟶ 113:
 
ในโหราศาสตร์ไทย พระเสาร์ถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ ๗ และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากพยัคฆ์ ๑๐ ตัว จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น ๑๐ สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันเสาร์ก็คือ[[ปางนาคปรก]]
|[[พระนางมัณฑา]] และ [[พระนางนีลา]]
 
|[[ดาวเสาร์]]
== พระราหู ==
|[[วันเสาร์]]
[[ไฟล์:Rahu graha.JPG|130px|thumb|พระราหู]]
|-
{{main|พระราหู}}
|8.
|[[ไฟล์:Rahu graha.JPG|90px]]
|{{main|พระราหู}}
'''พระราหู''' ([[อักษรเทวนาครี|เทวนาครี]]: राहु) เป็น'''เทวดานพเคราะห์'''องค์หนึ่ง ในคติไทย
กำเนิดของพระราหูมีอยู่ด้วยกันสองตำนานด้วยกันคือ
เส้น 89 ⟶ 139:
 
ในโหราศาสตร์ไทย พระราหูถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ ๘ และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากหัวผีโขมด ๑๒ หัว จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น ๑๒
|พระนางนาคกัณณี (Nagakanni ) และ พระนางนาควัลลี ( Nagavalli )
 
|Ascending Lunar node|node of the Moon
== พระเกตุ ==
|
[[ไฟล์:Ketu graha.JPG|130px|thumb|พระเกตุ]]
|-
{{main|พระเกตุ}}
|9.
|[[ไฟล์:Ketu graha.JPG|90px]]
|{{main|พระเกตุ}}
'''พระเกตุ''' ([[อักษรเทวนาครี|เทวนาครี]]: केतु) เป็น'''เทวดานพเคราะห์'''องค์หนึ่ง ในคติไทย พระเกตุถูกสร้างจากหางของ[[พระราหู]] เนื่องจากพระราหูแอบไปขโมยน้ำอมฤตที่เทวดาได้กวนไว้ดื่ม [[พระอินทร์]]โกรธจึงขว้างจักรตัดเอวพระราหู เดชะฤทธิ์[[น้ำอมฤต]] พระราหูจึงไม่ตาย และกลับไปยังวิมานเดิม หางที่ขาดนั้นเองก็กลายเป็นพระเกตุ ประจำในทิศท่ามกลาง ให้ผลเป็นกลาง ๆ ในการพยากรณ์ จึงไม่นิยมพิจารณาพระเกตุมากนัก
 
ในโหราศาสตร์ไทย พระเกตุถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ ๙
|พระนางจิตราลิกา (Chitralekha)
|Descending node of the Moon
|
|}
 
== ดูเพิ่ม ==