ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สื่อที่มนุษย์สามารถอ่านได้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 2 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:EAN-13-ISBN-13.svg|thumb|220px|รหัสแท่งอันแสดงข้อมูลที่ทั้งมนุษย์และเครื่องสามารถอ่านได้]]
 
'''สื่อหรือรูปแบบที่มนุษย์สามารถอ่านได้''' หมายถึงตัวแทนของ[[ข้อมูล]]หรือ[[สารสนเทศ]]ที่[[มนุษย์]]สามารถ[[อ่าน]]ได้โดยธรรมชาติ
 
ในทางคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่ ''มนุษย์สามารถอ่านได้'' มักจะเข้ารหัสเป็นข้อความ[[แอสกี|แอ]]หรือ[[ยูนิโคด]] (เป็นตัวหนังสือ) มากกว่าที่จะแสดงแทนด้วย[[เลขฐานสอง]] ข้อมูลแทบจะทั้งหมดสามารถแจงส่วนได้ด้วยเครื่องจักรหรือคอมพิวเตอร์ ที่ติดตั้งหรือสร้างชุดคำสั่งที่เหมาะสม ซึ่งเหตุผลต่าง ๆ ที่เครื่องจักรหรือคอมพิวเตอร์เลือกรูปแบบเลขฐานสองเหนือกว่ารูปแบบข้อความ มุ่งไปที่ปัญหาต่าง ๆ ของพื้นที่ว่างของหน่วยเก็บ เนื่องจากการแทนเลขฐานสองตามปกติจะใช้พื้นที่เพียงไม่กี่[[ไบต์]] และประสิทธิภาพของการเข้าถึง (อินพุตและละเอาต์พุต) โดยไม่ต้องผ่านการแปลงหรือแจงส่วนซ้ำ
 
ในบริบทส่วนใหญ่ อีกทางหนึ่งของตัวแทนที่มนุษย์สามารถอ่านได้ก็คือ สื่อหรือรูปแบบของข้อมูลที่ ''เครื่องสามารถอ่านได้'' ซึ่งออกแบบมาเพื่อให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เชิงกล หรือเชิงแสง หรือ[[คอมพิวเตอร์]] อ่านข้อมูลได้เป็นหลัก ตัวอย่างเช่น [[รหัสผลิตภัณฑ์สากล]] (Universal Product Code: UPC) เป็น[[รหัสแท่ง]]ที่มนุษย์อ่านเข้าใจได้ยาก แต่ถ้าอ่านด้วยอุปกรณ์ที่ถูกต้องจะได้ผลดีและน่าเชื่อถือมาก แต่ในขณะเดียวกันสายอักขระของ[[ตัวเลข]]ที่ประกอบอยู่บนฉลากมีเพื่อให้มนุษย์สามารถอ่านสารสนเทศของรหัสแท่งนั้น ในบางเขตอำนาจศาล ฉลากรหัสแท่งที่ใช้ในการค้าปลีกจะต้องแสดงราคาที่มนุษย์สามารถอ่านได้บนสินค้านั้น
 
เมื่อภาษามาร์กอัปเชิงโครงสร้างอย่างสูงและเป็นมาตรฐานเกิดขึ้น เช่น[[เอกซ์เอ็มแอล]] (XML) หน่วยเก็บข้อมูลมีราคาถูกลง และเครือข่ายการสื่อสารข้อมูลเร็วขึ้นแต่ถูกลง ทำให้ความสามารถในการอ่านได้ของมนุษย์และเครื่อง เรียกได้ว่าแทบจะไม่แตกต่างกันอย่างในอดีต นอกจากนี้ ตัวแทนข้อมูลเชิงโครงสร้างสามารถ[[บีบอัด]]ได้อย่างมีประสิทธิผลมาก สำหรับการส่งผ่านหรือการเก็บบันทึก
 
เมื่อภาษามาร์กอัปเชิงโครงสร้างอย่างสูงและเป็นมาตรฐานเกิดขึ้นในบริบทส่วนใหญ่ เช่น[[เอกซ์เอ็มแอล]]อีกทางหนึ่งของตัวแทนที่มนุษย์มนุษย์สามารถอ่านสารสนเทศของรหัสแท่งนั้น (XML)ในบางเขตอำนาจศาล หน่วยเก็บข้อมูลมีฉลากรหัสแท่งที่ใช้ในการค้าปลีกราคาถูกลง และเครือข่ายการสื่อสารข้อมูลเร็วขึ้นแต่ถูกลง ทำให้ความสามารถในการอ่านได้ของมนุษย์และเครื่อง เรียกได้ว่าแทบจะไม่แตกต่างกันอย่างในอดีต นอกจากนี้ ตัวแทนข้อมูลเชิงโครงสร้างสามารถ[[บีบอัด]]ได้อย่างมีประสิทธิผลมาก สำหรับการส่งผ่านหรือการเก็บบันทึก
องค์การหลายองค์การได้กำหนดนิยามข้อมูลที่มนุษย์สามารถอ่านได้กับข้อมูลที่เครื่องสามารถอ่านได้ และวิธีการที่จะนำมาใช้ในสาขาที่เกี่ยวข้องได้อย่างไร เช่น [[สหภาพไปรษณีย์สากล]] <ref>{{cite web|url=http://www.upu.int/document/2005/an/cep_gn_ep_4-1/src/d011_ad00_an09_p00_r00.doc|title=OCR and Human readable representation of data on postal items, labels and forms|publisher=Universal Postal Union|access-date=2014-09-28|archive-date=2007-07-16|archive-url=https://web.archive.org/web/20070716234547/http://www.upu.int/document/2005/an/cep_gn_ep_4-1/src/d011_ad00_an09_p00_r00.doc|url-status=dead}}</ref>
 
บ่อยครั้งที่ศัพท์ ''มนุษย์สามารถอ่านได้'' นำไปใช้อธิบายถึงชื่อหรือสายอักขระขนาดสั้น ที่ง่ายต่อการเข้าใจและการจดจำมากกว่าสัญกรณ์วากยสัมพันธ์ที่ซับซ้อนและขนาดยาว เช่น สายอักขระ[[ยูอาร์แอล]] (URL) <ref>{{cite web
|url=http://plone.org/products/plone/features/3.0/existing-features/human-readable-urls
|title=Human-readable URLs