ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คุรุครันถสาหิพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
 
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:1867 photo showing a Sikh granthi reading the Guru Granth Sahib scripture in Amritsar, British India.jpg|thumb|300px|ภาพวาดศาสนิกชนกำลังศึกษาสวดภาวนาจากคุรุกรันถสาหิบ]]
 
'''คุรุครันถสาหิพ'''<ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = ราชบัณฑิตยสถาน|ชื่อหนังสือ = พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน|จังหวัด = กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = ราชบัณฑิตยสถาน|ปี = 2552|ISBN = 978-616-7073-03-3|จำนวนหน้า = 734|หน้า =224-226}}</ref> หรือ '''คุรุกรันตซาฮิบ''' ({{lang-la|Sri Guru Granth Sahib}}, [[ภาษาปัญจาบ|ปัญจาบ]]: ਗੁਰੂ ਗ੍ਰੰਥ ਸਾਹਿਬ; อ่านว่า ''ศรีกุรุ กรันตะสาหิบะ'') หรือบางครั้งในภาษาไทยสะกดว่า "คุรุครันถ์ซาฮิบ"<ref>คุรุทวาราสมาคมศรีคุรุสิงห์สภา กรุงเทพมหานคร</ref>, "คุรุครันท์สาหิบ", "คุรุครันธ์สาหิบ" คือ[[คัมภีร์]]ที่[[คุรุซิกข์]]ทั้ง 10 องค์แต่งขึ้นเพื่อเป็นหลักในการปฏิบัติตนและใช้ชีวิตของ[[ชาวซิกข์]] ชาวซิกข์ถือให้พระคัมภีร์นี้เป็นศาสดาหนึ่งเดียวตลอดกาล เป็นศาสดาองค์ที่ 11 ต่อจากคุรุศาสดาที่เป็นบุรุษทั้ง 10 พระองค์<ref name=ke>{{cite book | last = Keene | first = Michael | title = Online Worksheets | publisher = Nelson Thornes | year = 2004 | page = 38 | isbn = 0-7487-7159-X}}</ref> คุรุครันถสาหิพเริ่มต้นเขียนขึ้นครั้งแรกโดย[[คุรุอรชุน]] คุรุองค์ที่ 5 โดยรวบรวมคำสอนและบทสวดจากคุรุองค์ก่อน ๆ ในหนังสือชื่อ "'''อาทิครันถ์'''" หรือ "'''อดิ กรันตะ'''" (Adi Granth) ภายหลัง[[คุรุโควินทสิงห์]] คุรุองค์ที่ 10 ได้เพิ่มเติมบทสวด เนื้อหาเข้าไปจนเป็นฉบับที่นับถือกันมาจนปัจจุบัน<ref name=hugh>{{cite book | last = Partridge | first = Christopher Hugh | title = Introduction to World Religions | year = 2005 | page = 223 | isbn = }}</ref> เรียกว่า "คุรุกรันถสาหิบ"<ref>{{cite book|last=Kapoor|first=Sukhbir|title=Guru Granth Sahib: An Advance Study|publisher=Hemkunt Press|isbn=9788170103219|page=139}}</ref> หลังคุรุโควินทสิงห์ได้เสียชีวิตลงในปี 1708 [[บาบา ทีปสิงห์]] (Baba Deep Singh) และ [[ภาอี มณี สิงห์]] (Bhai Mani Singh) ได้ร่วมกันเตรียมคัดลอกสร้างคัมภีร์ฉบับนี้จำนวนมากเพื่อที่จะใช้เผยแผ่ต่อไป<ref>{{cite book|last=Pruthi|first=Raj|title=Sikhism and Indian Civilization|year=2004|publisher=Discovery Publishing House|page=188}}</ref>