ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิลเลียม กิลเบิร์ต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 23:
ในหนังสือเล่มนี้ เขายังได้ศึกษาถึง[[ไฟฟ้าสถิต]] โดยการใช้แท่ง[[อำพัน]] (อำพัน เป็นยางไม้แข็ง สีเหลืองอมน้ำตาล ใน[[ภาษากรีก]]เรียกว่า '''อิเล็กตรอน''' (elektron) ด้วยเหตุนี้ กิลเบิร์ตจึงเรียกปรากฏการณ์ที่ตนค้นพบว่า "electric force" (แรงไฟฟ้า)
 
สิ่งที่กิลเบิร์ตเรียกว่า สภาพแม่เหล็ก นั้น คือแรงที่มองไม่เห็น ที่นักปรัชญาธรรมชาติคนอื่นๆอื่น ๆ จำนวนมาก เช่น [[โยฮันส์ฮันเนิส เคปเลอร์เค็พเพลอร์]] เคยเชื่อมั่น ว่าเป็นตัวควบคุมการเคลื่อนไหวต่างๆต่าง ๆ ของสิ่งที่สังเกตเห็นได้
 
หน่วย "[[กิลเบิร์ต]]" อันเป็นหน่วยของ [[แรงเคลื่อนแม่เหล็ก]] (magnetomotive force) ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า magnetic potential นั้น ก็ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่วิเลียมวิลเลียม กิลเบิร์ตนี่เอง
 
== อ้างอิง ==