ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยกกระบัตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saerin (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไข
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
จัดหมวดหมู่
บรรทัด 1:
'''การปกครองหัวเมือง''' [[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]]ทรงจัดการปกครอง[[หัวเมือง]]รูปแบบใหม่ดังนี้
{{ต้องการหมวดหมู่}}
'''การปกครองหัวเมือง'''
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงจัดการปกครองหัวเมืองรูปแบบใหม่ดังนี้
 
1.# หัวเมืองชั้นใน ทรงลดบานะเมืองลูกหลวงและเมืองหลานหลวงลงมาเป็นเมืองจัตวาส่งขุนนางไปปกครอง
2.# หัวเมืองชั้นนอก ทรงผนวกหัวเมืองประเทศราชในสมัยอยุธยาตอนต้น เช่น สุโขทัย นครศรีธรรมราช เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักร แบ่งเป็นหัวเมืองชั้นเอก ชั้นโท และชั้นตรี ตามขนาดและความสำคัญของเมือง ด้านการปกครองจะส่งเจ้านายหรือขุนนางไปปกครอง หัวเมืองจะมีอำนาจอิสระในการปกครองภายในเมืองของตนพอสมควร แต่ต้องอยุ่ในความควบคุมของราชธานี รวมทั้งต้องใช้ระเบียบแบบแผนและกฎหมายของส่วนกลางด้วย ทางราชธานีจะส่งขุนนางส่วนกลางตำแหน่ง ยุกระบัตร หรือ ยกกระบัตร ไปสอดส่องดูแลการปฏิบัติราชการของเจ้าเมือง มีสิทธิพิจารณาคำอุทธรณ์ของราษฎรด้วย
3.# หัวเมืองประเทศราช อยุธยาไม่ได้เข้าไปปกครองแต่ให้เจ้านายเชื้อสายเจ้าเมืองเดิมปกครองอย่างอิสระ และจะต้องส่งเครื่องราชบรรณาการให้อยุธยาตามเวลาที่กำหนดไว้
 
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ไทย]]
2. หัวเมืองชั้นนอก ทรงผนวกหัวเมืองประเทศราชในสมัยอยุธยาตอนต้น เช่น สุโขทัย นครศรีธรรมราช เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักร แบ่งเป็นหัวเมืองชั้นเอก ชั้นโท และชั้นตรี ตามขนาดและความสำคัญของเมือง ด้านการปกครองจะส่งเจ้านายหรือขุนนางไปปกครอง หัวเมืองจะมีอำนาจอิสระในการปกครองภายในเมืองของตนพอสมควร แต่ต้องอยุ่ในความควบคุมของราชธานี รวมทั้งต้องใช้ระเบียบแบบแผนและกฎหมายของส่วนกลางด้วย ทางราชธานีจะส่งขุนนางส่วนกลางตำแหน่ง ยุกระบัตร หรือ ยกกระบัตร ไปสอดส่องดูแลการปฏิบัติราชการของเจ้าเมือง มีสิทธิพิจารณาคำอุทธรณ์ของราษฎรด้วย
{{โครงประวัติศาสตร์}}
 
3. หัวเมืองประเทศราช อยุธยาไม่ได้เข้าไปปกครองแต่ให้เจ้านายเชื้อสายเจ้าเมืองเดิมปกครองอย่างอิสระ และจะต้องส่งเครื่องราชบรรณาการให้อยุธยาตามเวลาที่กำหนดไว้