ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พูดคุย:ภาษาอีสาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TTBot (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{บทความภาษา|ระดับ=พอใช้}}
{{บทความภาคอีสาน|ระดับ=พอใช้}}
{{อธิบายหน้าพูดคุย}}
== ชื่อบทความ==
 
เส้น 20 ⟶ 21:
:::ความกระชับ ผมเห็นว่าการใช้คำว่าภาษาอีสานสะดวกในการเอ่ยถึงต่อไปในบทความมากกว่าคำว่า ภาษาไทยถิ่นอีสาน ซึ่งคำนี้จะก่อให้เกิดความสับสนต่อไปเมื่อมี section ที่ต้องเอ่ยถึงภาษาไทยภาคกลาง สลับกับภาษาไทยถิ่นอีสานหลาย ๆ ครั้ง นำไปสู่ความลำบากในการอ่าน ไม่สะดวกต่อทั้งผู้อ่านและผู้เขียนครับ
:::สุดท้าย การใช้คำว่า "ภาษาไทยถิ่นอีสาน" เป็นชื่อหลักบทความ ผมเห็นว่าจะมีปัญหาเรื่อง [[การแผลงเป็นไทย|การทำให้เป็นไทย]] (Thaification) มากจนเกินไป และมีนัยยะของการลดความสำคัญและศักดิ์ศรีทางภาษาลง (Language Prestige) (อ้างอิง[https://www.tcithaijo.org/index.php/gshskku/article/view/73657/59367 วารสารบัณฑิตศึกษามนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ ฉบับปี 2559] และหนังสือ Ethnic Identity and Loyalty of Villagers in Northeastern Thailand โดย Keyes, Charles F. ) ซึ่งจะมีปัญหาในหลักนโยบายความเป็นกลาง อีกทั้งวิกิพีเดียภาษาไทยก็มีคนอ่านที่เป็นคนภาคอีสานใช้ภาษาอีสานอยู่จำนวนไม่น้อย ผมเห็นว่าใช้คำว่า "ภาษาอีสาน" น่าจะเหมาะสมกว่าครับ [[ผู้ใช้:NELLA32|Austin]] ([[คุยกับผู้ใช้:NELLA32|คุย]]) 14:26, 13 มกราคม 2565 (+07)
 
== ตัวอย่างภาษาไทอีสานแปลเป็นภาษากลาง ==
 
ภาษาไท(Esan Thai) vs ภาษากลาง(Central plains Thai)
ไตลาวไตลื้อยุคหลังอนุวงศ์ กรุงเทพฯพระนครมอญขอมเจ็กอยุธยา
ทวารวดีกลางควบกล้ำกระดกลิ้น ราบลุ่มเจ้าพระยาท่าจีนแม่กลอง
ไผ (Pai) ใคร
แซ่บ(xap) อเหร็ดอร่อย หรอยแรง
นัว(nua) กลมกล่อม
อีหยัง(iyang) อะไร หวาพรือ
ฮู้(Hoo). รู้ ทราบ
ฮ้อง(Hong) ร้อง
ฮุ่ง(Hung) อรุณ(รุ่ง)
เฮา(Hao). เรา
ถ่อง(Thong). คล่องแคล่ว ชำนาญ ชับพรึด
ถั่ง(Tang). กระทุ้ง
ดู๋(du) ขยัน
ตีง(teeng) ขยับ เคลื่อน กระเถิบ
ฮัก(hag). รัก
ฮาก(Hag) ราก
แก่น(Kaen) กระพี้
เมี่ยง(Miang). กรุง
เวียง(wiang). พระนคร(1กรุงเทพฯ 2นครธม)
ลาวเวียงโพธาราม ไตลาวไตลื้อยุคหลังอนุวงศ์
เวียงพิงค์เวียงจันทน์ เชียงใหม่เวียงจันทน์
แปน(pan). สะอาดสะอ้าน เรียบ ราบคาบ
เกี้ยง(Giang). สะอาด
แพง(paeng). สงวน
แจ้ง(Jaeng) สว่าง
เสี่ยว(Xiaow) สหาย เกลอ
งาม(ngam). สง่า สแอ(สวย)
คำ(Kham) สุพรรณ สุวรรณ กาญจนา(ทอง)
หอคำ พระราชตำหนัก
หอคำเชียงทอง พระราชวังหลวงพระบาง
กิน(Gin). เสวย
เป็นตาแซ่บ(Pen Ta Xap) น่าอเหร็ดอร่อย น่ารับประทาน
เป็นตาอ่อนซอน(On-Xon) น่าประทับใจปลาบปลื้มตราตรึง
เป็นตาฮัก(Hag). น่ารัก
เว้า(wao). ตรัส ดำรัส
ม่วน(muan). สละสลวยไพเราะเพราะพริ้ง
ม่วน(muan). สนุกสนาน
เว้าม่วนเว้าหวาน พูดจาไพเราะเสนาะหู
งาม(ngam) สง่าสุแอ(สวย)
งัน(ngan). ฉลองเฉลิม สมโภช
งึด(ngued). ฉงน อัศจรรย์ใจmind-blowing
หมั่น(mun). กระปรี้กระเปร่า
ยฮ่าง(yhang). ดำเนิน เดิน
ยุฮู้(Yhu) ผลัก ผดุง
ยไฮ่(Yhai) เจริญ
แม่น(Man) จริง
อีหลีบ่(E-lee-bo) จริงรึ
อิหยังก่(E-Yang-go) อะไรนะ
บ่เข้าท่า มิบังควร
ว่าซั่นบ่(wa xun). กระนั้นหรือ
จั่งใด๋(Jang dai). อย่างไร พรั่นพรือ
ถ่อง(Thong). คล่องแคล่ว/ชับพรึด
ป่อง(Pong). ฉลาดเฉลียว ชำนาญ
ป่อง(Pong). สะดวก ถนัด
ป่วง(puang) เสียสติ สรวล
ตีง(teeing). ขยับ เคลื่อน กระเถิบ
เอิ้น(earn). เรียก กล่าว
เอิ้นว่าอีหยังก่? เรียกว่าอะไรนะครับ?
ยฮ่าง(yhang). เดิน ดำเนิน
อ้าย(ai). ทำศัพท์
ทาง(tang). ถนน
ป่อง(pong). ถนัด สะดวก
เทียว(tiao). เสด็จ
ดู๋(Du). ขยัน
ตีง(teeing). ขยับ
ดั๋ง(dang) จมูก
ตี้(Tee). หรอ รึ
ตี้(ti). รึ หรอ
ลาวตี้ ลาวเวียงโพธาราม
ไทบ้าน คนไตลาวไตลื้อ
เงียบ(Ngiab). สงบ
งาม(Ngam). สง่า สุแอ(สวย)
ม่วน(muan). สนุก เพราะ ไพเราะ
เขียม(khiam) สุภาพ
หมั่น(mun). ดำรง (คงมั่น)
ซ่วง(xuang). เกษม สบาย ผ่อนคลาย
ล่าว,เล่า(lao) บุคคลที่อาวุโสกว่า
เฮา(hao) เรา
เจ้า(jao). คุณ
เจ้านาย(Jao nai) เสนา อามาตย์ขอมมอญเจ็ก
เจ้า(jao) กมรเตง(แผลงเป็นพระประแดง)
เมียง(miang). กรุง
ยู้(Yhu) ผดุง
ห่วย(Hui) คลอง (คลองผดุงกรุงเกษม)
ฮ่อง(Hong) ทะเล ขัว(Kua). สะพาน
หัว(Hua) กบาล
ปี้น(Pheen). พลิก
ฮ่องฮอง เรืองรอง
อองตอง ระเรื่อ
ออนซอน(On-axon) ประทับใจปลาบปลื้มตราตรึงใจ
สะออน(x a-on) ระทด ระทวย
อ้าย(ai). ถูกนำไปใช้แบบกร่อนเสียง ไ-้
แอ่ว(eaw) รบเร้า
อ่วย(Uey) กลับปรับเปลี่ยน
ค่อย(koi) ทยอย
เมี่ย(mia) กลับ
เมียง(miang) กรุง
ฟัง(Fang). สดับ
เกี้ยง(Giang). สะอาด
ยฮ่าง(yhang). เดิน ดำเนิน
ม่วน(Muan). สนุก
ม่วน(Muan) ไพเราะ
หมู่(Mu). สหาย
ซิม(xim). กระซิบ
หมึน(mün). โกรธ กริ้ว
มัก(mag). โปรด
เป็นตาฮัก น่ารัก
เป็นตาแพง น่าทะนุถนอม
เป็นตาเบิ่ง เจริญหูเจริญตา {{ไม่ได้ลงชื่อ|AnuwatKhamsri|20:04, 6 พฤษภาคม 2565 (ICT)}}
กลับไปที่หน้า "ภาษาอีสาน"