ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขันธ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Lookruk (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Lookruk (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
'''ขันธ์''' แปลว่า ''ตัว, หมู่, กอง, พวก, หมวด'' ในทางพุทธศาสนาหมายถึงส่วนหนึ่งๆ ของรูปกับนามที่แยกออกเป็น 5 กอง คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ซึ่งเรียกว่า ขันธ์ 5 หรือขันธ์ทั้ง 5 ได้แก่
# '''[[รูป (ศาสนาพุทธ)|รูป]]''' เป็นสภาพไม่รู้ รูปมีทั้งหมด 28 รูป แบ่งเป็น อุปาทยรูป 24 รูป และมหาภูตรูป 4 รูป
# '''[[เวทนา|เวทนา]]''' เป็นความรู้สึก มีทั้งหมด 5 เวทนา
# '''[[เวทนา|เวท]]นา''' เป็นเวทนาเจตสิก เป็นความรู้สึก มีทั้งหมด 5 เวทนา ได้แก่ [[ทุกข์]] [[สุข]] เกิดให้จิตรู้ได้ทางกาย โสมมนัส โทมนัส อุเบกขา เกิดให้จิตรู้ได้ทางใจ (หมายถึง ความรู้สึก 3 ประการคือสุขหรือพอใจอย่างหนึ่ง, ทุกข์หรือไม่พอใจอย่างหนึ่ง, อีกแบบหนึ่งอยู่ในลักษณะที่ไม่อาจจะเรียกได้ว่าสุขหรือทุกข์ คือเป็นเรื่องที่ยังเฉย ๆ อยู่ แต่ก็เป็นความรู้สึกเหมือนกัน. วันหนึ่ง ๆ ย่อมเต็มไปด้วยความรู้สึก; ท่านจึงถือว่าเป็นส่วนหนึ่งที่ประกอบกันเป็นคน และเรียกวส่วนนี้ว่า เวทนา หรือ เวทนาขันธ์
# '''[[สัญญา (ศาสนาพุทธ)|สัญญา]]''' เป็นความจำได้ ความรู้จำสิ่งที่ปรากฏได้ทางตา และความรู้สึกได้ทางใจ
# '''[[สัญญา (ศาสนาพุทธ)|สัญญา]]''' เป็นสัญญาเจตสิก เป็นความจำได้หมายรู้ ได้แก่ จำสิ่งที่ปรากฏได้ทางตา รับและรู้สึกนั้นๆได้ทางใจ แปลว่ารู้ตัว เป็นความรู้สึกตัวอยู่เหมือนอย่างว่าเรากำลังตื่นอยู่ คือไม่หลับ ไม่สลบ ไม่ตาย หรือเรียกว่ามีสติสมปฤดี. โดยทั่ว ๆ ไป มักจะอธิบายกันว่าเป็นความจำได้หมายรู้ ก็ถูกเหมือนกัน เพราะว่ายังไม่เมา ไม่สลบ ไม่หลับ ไม่ตาย ดังที่กล่าวมาแล้ว เมื่อกระทบอะไร ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ก็รู้สึกหรือจำได้ว่าเป็นอะไร เช่นรู้ว่า เขียว แดง สั้น ยาว คน สัตว์ ฯลฯ ตามแต่จะจำได้. นั่นแหละ เป็นความรู้สึกของสมปฤดี หรือ "สัญญา" ในที่นี้.
# '''[[สังขาร]]''' เป็นการปรุงแต่งจิตให้เป็นจิตหลากหลาย มีทั้งหมด 50 สังขาร
# '''[[สังขาร]]''' เป็นเจตสิก 50 ประเภท ปรุงแต่งจิตให้เป็นจิตหลากหลาย เรียกว่า "สังขาร" มีความหมายมาก จนมันปนกันยุ่งไปหมด, เราพูดถึงสังขารที่เป็นส่วนของนามธรรมนี้กันก่อนแปลว่า "ปรุง" คือกิริยาอาการของสิ่งที่เป็นอยู่ในคนหนึ่ง ๆ ได้แก่ การคิดหรือความคิดเช่นคิดจะทำ คิดจะพูด คิดอย่างนั้นอย่างนี้ คิดดีคิดเลวคิดทางไหนก็จัดเป็นความคิดทั้งนั้น. ความรู้สึกที่เป็นควาคิดพลุ่งขึ้นมาจากกรปรุแต่งภายในใจนี้เรียกว่าสังขาร. คำว่า สังขาร ในที่อื่นนั้น หมายถึงบุญกุศลที่ปรุงแต่งคนให้เกิดขึ้นก็มีหมายถึงร่างกายหรือโครงร่างที่มีจิตใจครองดังนี้ก็มี มีความหมายหลายทาง แต่ตรงกันโดยเหตุที่มันมีความหมายไปในทางมีการปรุงแต่งประกับกันขึ้นมา
# '''[[วิญญาณ (ศาสนาพุทธ)|วิญญาณ]]''' เป็นจิตทั้งหมด เป็นสภาพรับรู้ ได้แก่ ระบบรับรู้สิ่งนั้นๆในปัจจุบัน ทางตา หู จมูก ลิ้น กายมีทั้งหมด ใจ6 ฯลฯวิญญาณ
 
ในขันธ์ 5 นี้ เมื่อจัดขันธ์เข้าใน[[ปรมัตถธรรม]] รูปจะจัดเป็นรูปธรรม ส่วนเวทนา, สัญญา, สังขาร, และวิญญาณจะจัดเป็น[[นามนามธรรม]]ธรรม
เมื่อจัด* รูปขันธ์ จะจัดเข้าใน[[ปรมัตถธรรม]]รูป
* วิญญาณเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ และสังขารขันธ์ จะจัดเข้าใน[[จิตเจตสิก]]
* เวทนาขันธ์ ,สัญญาขันธ์ ,สังขารวิญญาณขันธ์ จะจัดเข้าใน[[เจตสิกจิต]]
* การหมดเหตุปัจจัยของนามรูปขันธ์ จะจัดเข้าในรูป[[นิพพาน]]
* ขันธ์ 5 จะจัดเข้าใน[[ไตรลักษณ์]]<ref>พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช)]]. (2548).ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด,'' [[วัดราชโอรสาราม]]. กรุงเทพฯ.ศ. 2548</ref>
* การหมดเหตุปัจจัยของนามรูป จัดเข้าใน[[นิพพาน]]
* ขันธ์ 5 จัดเข้าใน[[ไตรลักษณ์]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* [[พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช)]] ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด,'' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
 
[[หมวดหมู่:ขันธ์ ๕]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ขันธ์"