ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การอักเสบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
หากไม่มีการอักเสบเกิดขึ้น เชื้อโรคจะไม่ถูกกำจัดออกไปและแผลจะไม่ถูกรักษาให้หาย ซึ่งอาจเกิดความเสียหายของเนื้อเยื่อมากขึ้นจนอันตรายถึงชีวิตได้ แต่ทั้งนี้อาการอักเสบที่มีมากเกินไปก็สามารถเกิดโรคต่าง ๆ ได้ เช่น[[ไข้ละอองฟาง]] [[โรคท่อเลือดแดงและหลอดเลือดแดงแข็ง]] และ[[ข้ออักเสบรูมาทอยด์]] ด้วยเหตุผลนี้เอง ร่างกายจึงต้องมีกระบวนการควบคุมการอักเสบอย่างใกล้ชิด
 
การอักเสบอาจถูกแบ่งออกเป็นแบบ ''เฉียบพลัน'' หรือ ''เรื้อรัง'' ''การอักเสบเฉียบพลัน'' (acute inflammation) เป็นการต่อต้านวัตถุอันตรายของร่ายกายในระยะเริ่มแรก โดยเกิดการเคลื่อนที่ของ[[พลาสมา]]และ[[เม็ดเลือดขาว]]จากเลือดไปยังเนื้อเยื่อที่อักเสบ กระบวนการทางชีวเคมีที่เกิดขึ้นเป็นขั้นเป็นตอนนี้เองที่ทำให้เกิดการอักเสบ ซึ่งต้องอาศัยส่วนร่วมของ[[ระบบไหลเวียนโลหิต]] [[ระบบภูมิคุ้มกัน]] และเซลล์ต่างๆต่าง ๆ ในเนื้อเยื่อที่เสียหาย ''การอักเสบเรื้อรัง'' (chronic inflammation) นำไปสู่การเปลี่ยนชนิดของเซลล์ที่นำเสนอในบริเวณอักเสบ และมีลักษณะพิเศษของการทำลายที่เกิดขึ้นพร้อมกับการรักษาเนื้อเยื่อจากกระบวนการอักเสบ
 
== สาเหตุ ==
บรรทัด 28:
| ''เซลล์หลักที่เกี่ยวข้อง'' || <small>นิวโตรฟิล, เซลล์โมโนนิวเคลียร์ (โมโนไซต์, แมโครฟาจ) </small> || <small>เซลล์โมโนนิวเคลียร์ (โมโนไซต์, แมโครฟาจ, ลิมโฟไซต์, พลาสมาเซลล์) , ไฟโบรบลาสต์</small>
|-
| ''สารตัวกลางหลัก'' || <small>วาโซแอคทีฟเอมีน, ไอโคซานอยด์</small> || <small>[[อินเตอร์เฟียรอน]]-แกมมา และไซโตไคน์อื่นๆอื่น ๆ, โกรท แฟคเตอร์, อนุพันธ์ออกซิเจนที่ว่องไว, เอนไซม์ไฮโดรไลติก</small>
|-
| ''ระยะเริ่มมีอาการ'' || <small>ทันที</small> || <small>ช้านาน</small>