ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาราชการ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 10046610 สร้างโดย 1.47.158.24 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
{{Distinguish|ภาษาประจำชาติ}}
{{เพิ่มอ้างอิง}}
'''ภาษาทางการ''' หรือ '''ภาษาราชการ''' คือภาษาที่ได้รับสถานะพิเศษในแต่ละประเทศ รัฐ หรือเขตการควบคุมอื่น ๆ โดยทั่วไป ศัพท์ "ภาษาราชการ" ไม่ได้หมายถึงภาษาที่ใช้โดยประชาชนหรืประเทศ แต่เป็นภาษาที่ใช้โดยรัฐบาลของตน (เช่น ตุลาการ นิติบัญญัติ หรือการบริหาร)<ref>"Official Language", ''Concise Oxford Companion to the English Language'', Ed. Tom McArthur, Oxford University Press, 1998.</ref><ref>Pueblo v. Tribunal Superior, 92 D.P.R. 596 (1965). Translation taken from the English text, 92 P.R.R. 580 (1965), p. 588-589. See also LOPEZ-BARALT NEGRON, "Pueblo v. Tribunal Superior: Español: Idioma del proceso judicial", 36 Revista Juridica de la Universidad de Puerto Rico. 396 (1967), and VIENTOS-GASTON, "Informe del Procurador General sobre el idioma", 36 Rev. Col. Ab. (P.R.) 843 (1975).</ref><ref>[http://muniz-arguelles.com/resources/The+status+of+languages+in+Puerto+Rico.pdf ''The Status of Languages in Puerto Rico.''] Luis Muñiz-Arguelles. University of Puerto Rico. 1986. Page 466. Retrieved 23 November 2012.</ref>
 
มีประเทศที่มีภาษาราชการถึง 178 ประเทศ โดยในจำนวนนี้มี 101 ประเทศที่มีภาษาราชการมากกว่าหนึ่งภาษา รัฐบาลอิตาลีจัดให้[[ภาษาอิตาลี]]เป็นภาษาทางการใน ค.ศ. 1999<ref name="lang">{{cite web|title=Legge 15 Dicembre 1999, n. 482 "Norme in materia di tutela delle minoranze linguistiche storiche" pubblicata nella Gazzetta Ufficiale n. 297 del 20 dicembre 1999|url=http://www.camera.it/parlam/leggi/99482l.htm|publisher=[[Italian Parliament]]|access-date=2 December 2014|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20150512051856/http://www.camera.it/parlam/leggi/99482l.htm|archive-date=12 May 2015|df=dmy-all}}</ref> ในขณะที่บางประเทศ (เช่น[[สหรัฐ]], [[เม็กซิโก]] และ[[ออสเตรเลีย]]) ไม่ประกาศภาษาราชการในระดับชาติโดยนิตินัย<ref>{{cite web|url=https://edition.cnn.com/2018/05/20/us/english-us-official-language-trnd/index.html|title=FYI: English isn't the official language of the United States}}</ref>
'''ภาษาทางการ''' หรือ '''ภาษาราชการ''' คือ[[ภาษา]]ที่มีการกำหนดให้เป็นภาษาหลักในการติดต่อสื่อสารภายใน[[ประเทศ]]และเขตแดนที่ติดต่อกับประเทศนั้น บางครั้งภาษาท้องถิ่นถูกเข้าใจผิดว่าเป็นภาษาทางการเพราะมีการใช้การติดต่อกับทางส่วนการปกครองของท้องที่นั้น
 
รัฐธรรมนูญหลายประเทศระบุ[[ภาษาประจำชาติ]]หรือราชการหนึ่งภาษาหรือมากกว่า<ref>{{Cite web|url=https://www.constituteproject.org/search?lang=en&key=lang|title=Read about "Official or national languages" on Constitute|access-date=2016-03-28}}</ref><ref>{{Cite web|url=http://www.axl.cefan.ulaval.ca/index.html|title=L'aménagement linguistique dans le monde: page d'accueil|website=www.axl.cefan.ulaval.ca|access-date=2016-03-28}}</ref> บางประเทศใช้ภาษาราชการในการกำหนดอำนาจให้กลุ่มชนพื้นเมืองโดยให้พวกเขาเข้าถึงรัฐบาลด้วยภาษาแม่ของตน ส่วนประเทศที่ไม่ได้ระบุภาษาราชการอย่างเป็นทางการ มักมีการใช้ภาษาประจำชาติ''[[โดยพฤตินัย]]''แทน
ในขณะที่ประเทศส่วนใหญ่มีภาษาทางการ 1 ภาษา บางประเทศมีภาษาทางการ 2 ภาษาขึ้นไป เช่น [[ประเทศเบลเยียม|เบลเยียม]] [[ประเทศแคนาดา|แคนาดา]] [[ประเทศฟินแลนด์|ฟินแลนด์]] [[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์|สวิตเซอร์แลนด์]] ฯลฯ ขณะเดียวกันบางประเทศไม่มีภาษาทางการ เช่น [[สหรัฐอเมริกา]] [[ประเทศสวีเดน|สวีเดน]] ฯลฯ
 
สำหรับ[[ประเทศไทย]]นั้น ใช้ภาษาไทยมาตรฐาน เป็น "ภาษากลาง" ที่ได้พัฒนารูปแบบขึ้นมาจากภาษาไทยถิ่นกลางมาโดยลำดับ จนมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างจากภาษาไทยถิ่นกลางอื่น ๆ เรียกอีกอย่างว่าเป็นภาษาหนังสือ เป็นภาษาที่ใช้ในเอกสารราชการ การประชุมที่เป็นทางการ หนังสือ และตำราต่าง ๆ โดยปรากฏแนวการพัฒนาเป็นภาษากลางตั้งแต่สมัย[[รัชกาลที่ 5]]
ภาษาทางการของบางประเทศที่อยู่ภายใต้อาณานิคม เช่น [[ภาษาอังกฤษ]] [[ภาษาฝรั่งเศส]] ถูกใช้เป็นภาษาทางการ ถึงแม้ว่าไม่ใช่ภาษาที่มีการใช้เป็นหลักในประเทศนั้น ๆ
 
{{เพิ่ม== อ้างอิง}} ==
ใน[[ประเทศไอร์แลนด์]] ภาษาไอร์แลนด์ (ไอริช) เป็นภาษาทางการและเป็นภาษาประจำชาติของประเทศ แต่มีผู้ใช้ภาษาไอร์แลนด์น้อยกว่า 1 ใน 3 ของประชากรประเทศ ขณะที่ผู้คนส่วนมากใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก
{{Reflist|2}}
 
== อ่านเพิ่ม ==
ในบางประเทศมีการโต้เถียงอย่างรุนแรง ในประเด็นที่ว่าควรใช้ภาษาใดเป็นภาษาทางการของประเทศ
* (1990) "''Writing Systems of the World: Alphabets, Syllabaries, Pictograms"'' (1990), {{ISBN 0804816549|0-8048-1654-9}} the book lists official languages of the countries of the world, among other information, although it contains errors; e.g., it names English as the official language of the United States.
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
สำหรับ[[ประเทศไทย]]นั้น ใช้ภาษาไทยมาตรฐาน เป็น "ภาษากลาง" ที่ได้พัฒนารูปแบบขึ้นมาจากภาษาไทยถิ่นกลางมาโดยลำดับ จนมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างจากภาษาไทยถิ่นกลางอื่น ๆ เรียกอีกอย่างว่าเป็นภาษาหนังสือ เป็นภาษาที่ใช้ในเอกสารราชการ การประชุมที่เป็นทางการ หนังสือ และตำราต่าง ๆ โดยปรากฏแนวการพัฒนาเป็นภาษากลางตั้งแต่สมัย[[รัชกาลที่ 5]]
{{Wikidata property|P37}}
*[https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/fields/2098.html Languages by country] in ''[[The World Factbook]]''
 
{{Portal bar|ภาษา}}
== อ้างอิง ==
{{Authority control}}
* (1990) "Writing Systems of the World: Alphabets, Syllabaries, Pictograms", ISBN 0804816549 — the book lists official languages of the countries of the world, among other information, although it contains errors; e.g., it names English as the official language of the United States.
 
[[หมวดหมู่:ภาษาทางการ| ]]
[[หมวดหมู่:วิธภาษาและวัจนลีลา]]
{{โครงภาษา}}