ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ddjingjing (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
AreroTime (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
 
ในขณะที่คำที่ใช้สื่อถึง[[ชายรักร่วมเพศ|ชายที่มีรสนิยมรักร่วมเพศ]]สืบไปถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ความหมายนี้เริ่มพบได้ทั่วไปในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20<ref name=etymonline>{{cite web | last = Harper | first = Douglas | author-link = Douglas Harper | title = Gay | work = Online Etymology dictionary | date = 2001–2013 | url = http://www.etymonline.com/index.php?term=gay | access-date = 13 February 2006 | archive-url = https://web.archive.org/web/20060219193127/http://www.etymonline.com/index.php?term=gay | archive-date = 19 February 2006 | url-status=live }}</ref> ใน[[ภาษาอังกฤษ]]สมัยใหม่ ''เกย์'' ซึ่งใช้ได้ทั้ง[[คำวิเศษณ์|คำคุณศัพท์]]และ[[#คำนาม|คำนาม]] สื่อถึง[[LGBT community|สังคม]], [[Human sexual activity|การกระทำ]] และ[[วัฒนธรรมกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ|วัฒนธรรม]]ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการรักร่วมเพศ ในคริสต์ทศวรรษ 1960 ''เกย์'' กลายเป็นคำที่นิยมในกลุ่ม[[ชายรักร่วมเพศ]]เพื่อกล่าวถึง[[รสนิยมทางเพศ]]<ref>{{cite web|title=Gay|url=https://en.oxforddictionaries.com/definition/gay|website=[[Oxford English Dictionary]]|publisher=[[Oxford University Press]]|access-date=13 February 2018|archive-url=https://web.archive.org/web/20180521235009/https://en.oxforddictionaries.com/definition/gay|archive-date=21 May 2018|url-status=live}}</ref> ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 คำว่า ''เกย์'' ถูกแนะนำโดยกลุ่ม[[LGBT]]สายหลักและ[[ระเบียบงานสารบรรณ]]เพื่อกล่าวถึงการดึงดูดคนที่มีรสนิยมรักร่วมเพศ<ref>{{cite web|title=GLAAD Media Reference Guide - Terms To Avoid|url=http://www.glaad.org/reference/offensive|website=[[GLAAD]]|date=25 October 2016|access-date=21 April 2012|archive-url=https://web.archive.org/web/20120420141352/http://www.glaad.org/reference/offensive|archive-date=20 April 2012|url-status=live}}</ref><ref name=APAHeteroBiasLang>{{cite web|title=Avoiding Heterosexual Bias in Language|url=http://www.apa.org/pi/lgbt/resources/language.aspx|website=[[American Psychological Association]]|access-date=14 March 2015|archive-url=https://web.archive.org/web/20150321033057/http://www.apa.org/pi/lgbt/resources/language.aspx|archive-date=21 March 2015|url-status=live}} (Reprinted from [http://psycnet.apa.org/doiLanding?doi=10.1037%2F0003-066X.46.9.973 American Psychologist, Vol 46(9), Sep 1991, 973-974] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20180603155851/http://psycnet.apa.org/doiLanding?doi=10.1037%2F0003-066X.46.9.973 |date=3 June 2018 }})</ref> ถึงแม้ว่าคำนี้มักใช้กับผู้ชายก็ตาม<ref name=glaad10>{{cite web|url=http://www.glaad.org/files/MediaReferenceGuide2010.pdf|title=GLAAD Media Reference Guide|access-date=25 September 2011|archive-url=https://web.archive.org/web/20111112111339/http://www.glaad.org/files/MediaReferenceGuide2010.pdf|archive-date=12 November 2011|url-status=live}}</ref> ในขณะที่คำจำกัดความทางเพศอย่าง[[เลสเบียน]] ก็ใช้เฉพาะกลุ่มผู้หญิงรักเพศเดียวกัน
[[ไฟล์:Seattle R Place.jpg|thumb|บาร์เกย์ "R Place" ในเมื่อง Seattle, Washington, USA]]
 
การใช้คำว่าเกย์ในภาษาไทย จะหมายความถึงเฉพาะผู้ชายที่[[รักร่วมเพศ]]เท่านั้น อย่างไรก็ตาม ผู้ชายที่[[รักสองเพศ]] (รักและมีเพศสัมพันธ์ได้กับทั้งชายและหญิง; [[ไบเซ็กชวล]]) ก็มักถูกเรียกว่าเป็นเกย์เช่นกัน ในประเทศไทยมีการแบ่งชนิดของเกย์ตามรสนิยมในการร่วมเพศ ได้แก่ '''เกย์รุก''' หรือ '''เกย์คิง''' คือเกย์ที่เป็นฝ่ายสอดใส่ในการร่วมเพศ, '''เกย์รับ''' หรือ '''เกย์ควีน''' คือเกย์ที่เป็นฝ่ายถูกสอดใส่ในการร่วมเพศ และ '''โบท''' คือเกย์ที่เป็นมีความพึงพอใจทั้งสองอย่างในการร่วมเพศ
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เกย์"