ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาลหลักเมือง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supakit prem (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 9840705 โดย Opecuted (พูดคุย) ด้วยสจห.: "lak mueang" มิใช่ภาษาอังกฤษ แต่เป็นภาษาไทยที่เขียนด้วยอักษรโรมัน จึงใช้แม่แบบภาษาอังกฤษไม่ได้ ประกอบกับไม่จำเป็นต้องระบุไว้
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{issues|มุมมองสากล=yes|ต้องการอ้างอิง=yes}}
[[ไฟล์:Bangkok city pillar inside.jpg|right|thumb|บรรยากาศภายใน[[ศาลหลักเมืองกรุงเทพมหานคร]] โดยเสาหลักเมืองแบบสูงเป็นเสาเดิมตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 ส่วนเสาหลักเมืองแบบสั้นถูกสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4]]
 
'''ศาลหลักเมือง''' คือสถานที่ศักดิ์สิทธิ์อันเป็นที่ตั้งของหลักเมือง ซึ่งตามธรรมเนียมพิธีของศาสนาพุทธ,[[ศาสนาพราหมณ์]]หรือศาสนาพื้นบ้านแบบจีนว่า ก่อนที่จะสร้างเมืองจะต้องทำพิธียกเสาหลักเมืองในที่อันเป็นชัยภูมิสำคัญ เพื่อเป็นสิริมงคลแก่บ้านเมืองที่จะสร้างขึ้น ศาลหลักเมืองในประเทศไทยส่วนใหญ่ทำจากไม้มงคล เช่น [[ชัยพฤกษ์]] [[ราชพฤกษ์]] ในลักษณะเสา ปลายยอดเป็นดอกบัวตูม หรือหน้าเทวดา หรืออาจเป็นหลักหินโบราณ ใบเสมาโบราณ ที่พบในพื้นที่นั้นๆ ตัวศาลส่วนใหญ่เป็นศาลาจตุรมุขทรงไทย มีประตูทั้งสี่ด้าน ยอดอาจเป็นแบบปรางค์ แบบปราสาท แบบมณฑป หรือเป็นศาลเจ้าแบบจีน ตามศรัทธาการก่อสร้างในพื้นที่นั้น บางพื้นที่อาจพบร่วมกันทั้งเสาหลักเมือง และศาลเจ้าแบบจีน ซึ่งมักมีองค์ประธานศาลเจ้าเป็นเทวรูปไม้หรือศิลา เรียกว่า เจ้าพ่อหลักเมือง หรือเจ้าแม่หลักเมือง สถานที่ตั้งส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ชุมชนเมืองเก่า อาจเป็นตัวจังหวัด หน้าศาลากลางจังหวัด ในประเทศไทยจังหวัดส่วนใหญ่มีศาลหลักเมือง บางอำเภอก็มีศาลหลักเมือง ซึ่งยังคงเรียกว่า ศาลหลักเมืองเนื่องจากบางอำเภอก็เป็นเมืองเก่า ก่อนถูกลดฐานะลงเป็นอำเภอในปัจจุบัน ตามชุมชนเล็กๆ อื่นๆ ก็อาจมีศาลประจำชุมชนเหมือนกัน แต่จะเรียกเป็นศาลหรือเจ้าที่ประจำหมู่บ้าน ชุมชน
'''หลักเมือง''' ({{lang-en|Lak mueang}}) เป็นเสาประจำเมืองที่สามารถพบได้ตามพื้นที่ส่วนใหญ่ของ[[ประเทศไทย]] โดยปกติแล้วเสาหลักเมืองจะตั้งอยู่ตามศาลหลักเมือง ({{lang-en|Lak mueang pillar shrine}}) มักมีความเชื่อว่าศาลหลักเมืองเป็นที่สถิตของเจ้าพ่อหลักเมือง {{lang-en|Chao Pho Lak Mueang}} ซึ่ง[[เทพารักษ์|เทพยดาปกปักษ์รักษาเมือง]] เสาหลักเมืองถูกสร้างขึ้นตามขนบธรรมเนียมของ[[ศาสนาพุทธ]], [[ศาสนาพราหมณ์]] หรือศาสนาพื้นบ้านแบบจีน ว่าด้วยการสร้างเมือง จะต้องมีการทำพิธียกเสาหลักเมืองในพื้นที่อันเป็นชัยภูมิสำคัญ เพื่อเป็นสิริมงคลแก่บ้านเมือง โดยเสาหลักเมืองส่วนใหญ่มักจะทำจากไม้มงคล อาทิ [[ชัยพฤกษ์]] หรืออาจจะเป็น[[ราชพฤกษ์]] เป็นต้น
 
มีการสันนิษฐานว่า[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] (รัชกาลที่ 1) เป็นผู้ทรงสถาปนาเสาหลักเมืองแห่งแรก เมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2325 เมื่อพระองค์ทรงย้ายเมืองหลวงจาก[[กรุงธนบุรี]]มาสู่[[กรุงเทพมหานคร]] พร้อมด้วยการสร้างศาลหลักเมืองในเมืองหลวงแห่งใหม่ การสร้าง[[พระบรมมหาราชวัง]] และการก่อสร้างอาคารสถานที่อื่น ๆ ตามมา
 
[[หมวดหมู่:ศาลหลักเมือง|*]]