ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไอแมกซ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
Ginphuaktidfun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox product
| title = ไอแมกซ์
| image = [[ไฟล์:IMAX blue logo.svg|200px]][[ไฟล์:Cosmonova 2009c.jpg|200px]]
| type = รูปแบบฟิล์มภาพยนตร์
| inventor = {{ulist|โรมัน โครเตอร์|แกรม เฟอร์กูสัน}}
| inception = พ.ศ. 2511
| manufacturer = ไอแมกซ์ คอร์ปอเรชั่น
| website = {{URL|https://www.imax.com/}}
}}
[[ไฟล์:Imaxcomparison.png|thumb|ภาพเปรียบเทียบขนาดฟิล์มภาพยนตร์ 35 มม. กับไอแมกซ์ 15/70]]
[[ไฟล์:Xenon IMAX 1.jpg|thumb|หลอดซีนอนขนาด 15 กิโลวัตต์ ที่ใช้ฉายภาพยนตร์ไอแมกซ์]]
 
'''อิมเมจ แมกซิมัม''' เรียกโดยย่อว่า '''ไอแมกซ์''' ({{lang-en|IMAX}} ย่อมาจาก '''I'''mage '''MAX'''imum) เป็นชื่อของรูปแบบ[[ฟิล์มภาพยนตร์|ฟิล์ม]][[ภาพยนตร์]] อุปกรณ์การฉาย ตลอดจน[[โรงภาพยนตร์]] ที่ใช้มาตรฐานของบริษัท IMAX Corporation [[ประเทศแคนาดา]] โดยภาพยนตร์ที่ฉายด้วยระบบไอแมกซ์จะมีภาพที่มีขนาดใหญ่ และมีความละเอียดสูงกว่าภาพยนตร์ทั่วไป จอภาพยนตร์ไอแมกซ์จะมีขนาดกว้างประมาณ 22 เมตร (72 ฟุต) สูง 16.1 เมตร (63 ฟุต)
'''อิมเมจ แมกซิมัม''' เรียกโดยย่อว่า '''ไอแมกซ์''' ({{lang-en|IMAX}} ย่อมาจาก '''I'''mage '''MAX'''imum) เป็นชื่อของรูปแบบ[[ฟิล์มภาพยนตร์|ฟิล์ม]][[ภาพยนตร์]] อุปกรณ์การฉาย ตลอดจน[[โรงภาพยนตร์]] ที่ใช้มาตรฐานของบริษัท IMAX Corporation [[ประเทศแคนาดา]] โดยภาพยนตร์ที่ฉายด้วยระบบไอแมกซ์จะมีภาพที่มีขนาดใหญ่ และมีความละเอียดสูงกว่าภาพยนตร์ทั่วไป จอภาพยนตร์ไอแมกซ์จะมีขนาดกว้างประมาณ 22 เมตร (72 ฟุต) สูง 16.1 เมตร (63 ฟุต)
 
ภาพยนตร์ที่ใช้ระบบไอแมกซ์ จะถ่ายทำด้วยฟิล์มขนาดใหญ่กว่าปกติ (70 มม.) ที่ความเร็ว 24 เฟรมต่อวินาที เนื้อฟิล์มที่ใช้จะมีความแข็งแรงมากกว่าฟิล์มภาพยนตร์ 35 มม. ทั่วไป เพื่อให้สามารถแสดงผลได้อย่างเที่ยงตรง
เส้น 16 ⟶ 26:
* '''IMAX Digital''' เป็นระบบฉายภาพที่พัฒนาขึ้นมาใหม่ในปี พ.ศ. 2552 และในปี พ.ศ. 2555 ไอแมกซ์ได้พัฒนาเครื่องฉายแบบเลเซอร์เพื่อการรับชมที่สมบูรณ์มากขึ้น
* '''IMAX VR''' เปิดให้บริการครั้งแรกที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี2560 เป็นโรงภาพยนตร์โดย IMAX VR นั้นบริการทั้งการชมภาพยนตร์และการเล่นเกม ผ่านแว่น VR ที่เป็นที่รู้จักกันดีอยู่แล้วอย่าง HTC Vive และ StarVR ซึ่งจะมีอุปกรณ์คอนโทรลเลอร์ควบคุมให้ผู้ใช้ได้เพลิดเพลินในโลกเสมือนจริงด้วย
 
==โรงภาพยนตร์ไอแมกซ์ในประเทศไทย==
ปัจจุบันสิทธิ์การบริหารงานโรงภาพยนตร์ระบบไอแมกซ์ในประเทศไทยเป็นของ [[เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ กรุ๊ป]] เดิมตั้งอยู่ที่โรงภาพยนตร์เมเจอร์ซีนีเพล็กซ์ สาขารัชโยธิน โดยใช้ชื่อว่า '''กรุงไทย ไอแมกซ์ เธียเตอร์''' (ทุนร่วมกับธนาคารกรุงไทย) และ '''พานาโซนิค ไอแมกซ์ เธียเตอร์''' (ทุนร่วมกับ บริษัท พานาโซนิค (ประเทศไทย) จำกัด) ตามลำดับ แต่ปัจจุบันเครื่องฉายดังกล่าวได้ถูกย้ายมาอยู่ที่โครงการพารากอนซีเนโพลิส หรือพารากอนซีนีเพล็กซ์ในปัจจุบัน โดยพารากอนซีนีเพล็กซ์ มีโรงฉายภาพยนตร์ระบบไอแมกซ์ 1 โรงภาพยนตร์ โดยใช้ชื่อว่า '''กรุงศรี ไอแมกซ์ เธียเตอร์''' (ทุนร่วมกับธนาคารกรุงศรีอยุธยา) โดยมีความสูงของจอที่สูงเท่ากับตึก 8 ชั้น และระบบเสียง IMAX ขนาด 12,000 วัตต์ ฉายภาพยนตร์ระบบไอแม็กซ์ทั้งแบบฟิล์ม 70 มม. ไอแม็กซ์ DMR และ ระบบ 3 มิติ ในช่วงแรกที่เปิดทำการ
 
ต่อมาเมื่อไอแมกซ์พัฒนาระบบ ไอแมกซ์ ดิจิตอล 3 มิติ เสร็จแล้ว เมเจอร์ซีนีเพล็กซ์ได้เข้าเซ็นสัญญากับไอแมกซ์ คอร์ปเรชัน ในการที่จะเปิดโรงภาพยนตร์ไอแมกซ์แห่งใหม่ถึง 5 โรงภาพยนตร์ในปีเดียว ซึ่งจะใช้เงินในการลงทุนสูงถึง 500 ล้านบาท โดยในขั้นต้นมีการระบุว่าโรงไอแมกซ์แห่งใหม่ในขณะนั้น จะตั้งอยู่ที่ เมเจอร์ซีนีเพล็กซ์ รัชโยธิน และ [[เอสพลานาด งามวงศ์วาน-แคราย]] ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง แต่สุดท้ายเมเจอร์ซีนีเพล็กซ์ได้เลือกที่จะปรับปรุงโรงภาพยนตร์ไอแมกซ์เดิมที่สาขารัชโยธิน (ซึ่งในขณะนั้น ใช้ฉายภาพยนตร์ระบบดิจิตอล 2 มิติแบบธรรมดาอยู่) และได้เปลี่ยนโรงภาพยนตร์ที่เมเจอร์ซีนีเพล็กซ์ สาขาปิ่นเกล้า ให้มาฉายภาพยนตร์ระบบไอแมกซ์ ดิจิตอลแทน โดยใช้ชื่อว่ากรุงศรี ไอแมกซ์ ดิจิตอล เธียเตอร์ และต่อมาจึงมีการติดตั้งเครื่องฉายระบบไอแมกซ์ดิจิตอลที่ไอแมกซ์พารากอนซีนีเพล็กซ์เพื่อให้สามารถรองรับระบบไอแมกซ์ดิจิตอลได้เช่นกันโดยติดตั้งเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2555 รวมทั้งยังมีการเปลี่ยนจอภาพยนตร์และลำโพงรวมถึงระบบเสียงใหม่ที่มีความกระหึ่มเพิ่มขึ้นเป็น 32,000 วัตต์
 
ในปี พ.ศ. 2556 เมเจอร์ซีนีเพล็กซ์ได้เปิดตัวโรงภาพยนตร์ไอแมกซ์เพิ่มเติมในศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัลสองแห่ง คือ [[เซ็นทรัลเฟสติวัล เชียงใหม่]] ซึ่งถือเป็นโรงภาพยนตร์ไอแมกซ์สาขาแรกนอกเขตกรุงเทพมหานคร และ [[เซ็นทรัลเฟสติวัล หาดใหญ่]] โดยเปิดร่วมกับโรงภาพยนตร์หาดใหญ่ซีนีเพล็กซ์ ซึ่งจุดต่างของทั้งสองสาขาดังกล่าวคือไม่ได้ใช้ทุนร่วมกับธนาคารกรุงศรีอยุธยา ทำให้โรงภาพยนตร์สาขาใหม่ทั้งสองแห่งใช้ชื่อแค่ว่า "ไอแมกซ์ เธียเตอร์" ในช่วงแรกของการเปิดให้บริการ แต่ปัจจุบันได้เปลี่ยนชื่อโรงภาพยนตร์เป็น '''กรุงศรี ไอแมกซ์ ดิจิตอล เธียเตอร์''' เนื่องจากมีการปรับทุนมาใช้ร่วมกับธนาคารกรุงศรีอยุธยาตามสาขาในกรุงเทพมหานคร ซึ่งการใช้ทุนร่วมกันแบบนี้เมเจอร์ซีนีเพล็กซ์เคยให้สัมภาษณ์ว่าจะทำให้แผนขยายสาขาใหม่ๆ ทำได้ไวขึ้น และทำให้การคืนทุนในแต่ละสาขาทำได้ดีมากขึ้น ประกอบกับปัจจุบันมีภาพยนตร์ฟอร์มยักษ์เข้าฉายที่โรงไอแมกซ์ตลอด ทำให้โรงไอแมกซ์สามารถคืนทุนได้ไวกว่าปกติที่ควรจะเป็น
 
ใน พ.ศ. 2558 เมเจอร์ซีนีเพล็กซ์ยังคงเดินหน้าเปิดโรงภาพยนตร์ไอแมกซ์เพิ่มเติมสองแห่ง คือ โรงภาพยนตร์[[ควอเทียร์ ซีเนอาร์ต]] ศูนย์การค้า[[เอ็มควอเทียร์]] และ โรงภาพยนตร์เวสต์เกต ซีนีเพล็กซ์ ศูนย์การค้า[[เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต]] ซึ่งทั้งสองที่มีความแตกต่างกับโรงภาพยนตร์สาขาก่อนหน้าอยู่หลายประการ ไม่ว่าจะเป็นการแตกแบรนด์เพิ่มเติมของเมเจอร์ซีนีเพล็กซ์โดยชูโรงภาพยนตร์ไอแมกซ์เป็นจุดหลัก ปรับจอฉายภาพยนตร์เป็นรูปแบบใหม่ที่สว่างกว่าสาขาอื่นถึง 10 เท่า ออกแบบโครงสร้างเพื่อรองรับการอัปเกรดเครื่องฉายเป็นเครื่องเลเซอร์ และที่พิเศษกว่าคือที่สาขาเอ็มควอเทียร์ ได้เปลี่ยนไปใช้เก้าอี้รูปแบบใหม่ซึ่งเป็นเก้าอี้แบบเดียวกับที่ใช้ในห้องประชุมใหญ่ของทำเนียบขาว และออกแบบช่องว่างภายในโรงภาพยนตร์ รวมถึงตกแต่งโรงภาพยนตร์ด้วยแนวคิดใหม่ทั้งหมด และเปลี่ยนผู้สนับสนุนโรงภาพยนตร์หลักจากธนาคารกรุงศรีอยุธยา เป็น บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด ผู้ผลิตรถยนต์ยี่ห้อ [[โตโยต้า]] ในประเทศไทยแทน และเรียกชื่อโรงภาพยนตร์ทั้งสองแห่งนี้ว่า "โตโยต้า ไอแมกซ์ เธียเตอร์"​ ซึ่งจุดประสงค์ของโตโยต้า คือต้องการเจาะตลาดกลุ่มผู้ชมชาวญี่ปุ่น ซึ่งเป็นกลุ่มลูกค้าหลักของศูนย์การค้าเอ็มควอเทียร์ด้วย และในปีนี้ ยังเป็นปีที่เมเจอร์ซีนีเพล็กซ์ได้ปิดโรงภาพยนตร์ไอแมกซ์หนึ่งแห่ง คือสาขาปิ่นเกล้า โดยมีเหตุผลหลักคือเรื่องต้นทุนที่ไม่สามารถคืนทุนได้ตลอดระยะเวลาการเปิดให้บริการ ซึ่งปัจจุบันเครื่องฉายและลำโพง ได้ถูกย้ายมาติดตั้งที่สาขาเอ็มควอเทียร์แทน
 
ในปี พ.ศ. 2561 เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ จับมือร่วมกับเอไอเอสและไอแมกซ์เปิดให้บริการ '''เอไอเอส ไอแมกซ์ วีอาร์ (AIS IMAX VR)''' ที่โรงภาพยนตร์[[พารากอน ซีนีเพล็กซ์]] และที่เอไอเอส ดีไซน์ เซ็นเตอร์​ ศูนย์การค้า[[เอ็มโพเรียม]] โดย IMAX VR เป็นศูนย์ให้บริการทั้งการชมภาพยนตร์และการเล่นเกม ผ่านแว่นวีอาร์คุณภาพสูงอย่าง HTC Vive และ StarVR พร้อมทั้งมีอุปกรณ์คอนโทรลเลอร์ควบคุมให้ผู้ใช้ได้ใช้งาน ทั้งนี้ ไอแมกซ์ วีอาร์ที่พารากอน ซีนีเพล็กซ์ ถือเป็นสาขาแรกและสาขาเดียวในประเทศไทย รวมถึงยังเป็นแห่งที่ 7 ของโลก และเป็นประเทศแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่เปิดบริการ อย่างไรก็ตาม ไอแมกซ์ วีอาร์ ในประเทศไทย ถือเป็นเพียงนิทรรศการชั่วคราว มีแผนเปิดให้บริการถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2562 เท่านั้น นอกจากนี้ยังมีแผนการขยายโรงภาพยนตร์ไอแมกซ์จำนวนสองแห่ง ได้แก่โรงภาพยนตร์ไอคอน ซีเนคอนิค ศูนย์การค้า[[ไอคอนสยาม]]<ref>[https://www.prachachat.net/facebook-instant-article/news-98958 ส่วนผสมใหม่ “เมเจอร์” ดึงคนดูติดจอ…เปิดโรงไม่หยุด]</ref> และโรงภาพยนตร์เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ ในกรุงพนมเปญ [[ประเทศกัมพูชา]] ทำให้ใน พ.ศ. 2561 เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ มีโรงภาพยนตร์ไอแมกซ์กว่า 7 โรงภาพยนตร์ครอบคลุมทั้ง กรุงเทพฯ นนทบุรี เชียงใหม่ และกรุงพนมเปญ
 
===สาขาโรงภาพยนตร์ไอแมกซ์ โดยเมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ กรุ้ป===
''เรียงตามลำดับวันที่เปิดทำการ โดยไม่นับสาขารัชโยธินเป็นสาขาแรก''
 
{| class="wikitable"
! style="background-color:#dddddd"|ชื่อสาขา
! style="background-color:#dddddd"|โรงภาพยนตร์<!--ตามลำดับโปรแกรมการฉาย-->
! style="background-color:#dddddd"|วันที่เริ่มเปิดทำการ
! style="background-color:#dddddd"|จังหวัดที่ตั้ง
! style="background-color:#dddddd"|ความสูง (เมตร)
! style="background-color:#dddddd"|ความกว้าง (เมตร)
! style="background-color:#dddddd"|ความจุ (ที่นั่ง)<!--นับจากที่นั่งในแต่ละรอบฉาย-->
! style="background-color:#dddddd"|ผู้สนับสนุน
|-
| bgcolor = "#ECECFF"|[[พารากอน ซีนีเพล็กซ์]] [[สยามพารากอน]]
| bgcolor = "#D5D5FF"|16
| bgcolor = "#ECECFF"|9 ธันวาคม พ.ศ. 2548
| bgcolor = "#D5D5FF"|กรุงเทพมหานคร
| bgcolor = "#ECECFF"|19.9
| bgcolor = "#ECECFF"|27.3
| bgcolor = "#ECECFF"|493
| bgcolor = "#D5D5FF"|ธนาคารกรุงศรีอยุธยา
|-
| bgcolor = "#ECECFF"|เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ รัชโยธิน
| bgcolor = "#D5D5FF"|15
| bgcolor = "#ECECFF"|11 กันยายน พ.ศ. 2553
| bgcolor = "#D5D5FF"|กรุงเทพมหานคร
| bgcolor = "#ECECFF"|17
| bgcolor = "#ECECFF"|24
| bgcolor = "#ECECFF"|467
| rowspan="2" bgcolor = "#D5D5FF"|ธนาคารกรุงศรีอยุธยา
|-
| bgcolor = "#ECECFF"|เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ เซ็นทรัล เชียงใหม่
| bgcolor = "#D5D5FF"|10
| bgcolor = "#ECECFF"|14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
| bgcolor = "#D5D5FF"|เชียงใหม่
| bgcolor = "#ECECFF"|15
| bgcolor = "#ECECFF"|27
| bgcolor = "#ECECFF"|424
|-
| bgcolor = "#ECECFF"|[[ควอเทียร์ ซีเนอาร์ต]] [[เอ็มควอเทียร์]]
| bgcolor = "#D5D5FF"|8
| bgcolor = "#ECECFF"|1 เมษายน พ.ศ. 2558
| bgcolor = "#D5D5FF"|กรุงเทพมหานคร
| bgcolor = "#ECECFF"|13.72
| bgcolor = "#ECECFF"|25.64
| bgcolor = "#ECECFF"|376
| bgcolor = "#D5D5FF"| เรียลแอสเซท
|-
| bgcolor="#ECECFF" |เวสต์เกต ซีนีเพล็กซ์ เซ็นทรัลเวสต์เกต
| bgcolor = "#D5D5FF"|12
| bgcolor = "#ECECFF"|29 สิงหาคม พ.ศ. 2558
| bgcolor = "#D5D5FF"|นนทบุรี
| bgcolor = "#ECECFF"|13.72
| bgcolor = "#ECECFF"|25.64
| bgcolor = "#ECECFF"|402
| bgcolor = "#D5D5FF"| ธนาคารกรุงศรีอยุธยา
|-
| bgcolor = "#ECECFF"|เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ บาย สมาร์ท อิออนมอลล์ แซนซก (แสนสุข)
| bgcolor = "#D5D5FF"|8
| bgcolor = "#ECECFF"|5 มิถุนายน พ.ศ. 2561
| bgcolor = "#D5D5FF"|กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา
| bgcolor = "#ECECFF"|
| bgcolor = "#ECECFF"|
| bgcolor = "#ECECFF"|
| bgcolor = "#D5D5FF"| เบียร์ แคมโบเดีย
|-
| bgcolor = "#ECECFF"|ไอคอน ซีเนคอนิค [[ไอคอนสยาม]]
| bgcolor = "#D5D5FF"|14
| bgcolor = "#ECECFF"|5 ธันวาคม พ.ศ. 2561
| bgcolor = "#D5D5FF"|กรุงเทพมหานคร
| bgcolor = "#ECECFF"|13.7
| bgcolor = "#ECECFF"|24.8
| bgcolor = "#ECECFF"|364
| bgcolor = "#D5D5FF"| ธนาคารออมสิน
|-
|}
 
===สาขาที่ปิดทำการ===
{| class="wikitable"
! style="background-color:#dddddd"|ชื่อสาขา
! style="background-color:#dddddd"|วันที่เริ่มเปิดทำการ
! style="background-color:#dddddd"|วันที่ปิดทำการ
! style="background-color:#dddddd"|สถานะปัจจุบัน
 
|-
| bgcolor = "#D5D5FF"|เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ ปิ่นเกล้า
| bgcolor = "#ECECFF"|23 ธันวาคม พ.ศ. 2553
| bgcolor = "#ECECFF"|4 มีนาคม พ.ศ. 2558
| bgcolor = "#D5D5FF"|ปรับปรุงกลับเป็นโรงภาพยนตร์ระบบดิจิทัลทั่วไป และย้ายเครื่องฉายไปยังโรงภาพยนตร์ควอเทียร์ ซีเนอาร์ต<br>ปัจจุบันโรงภาพยนตร์ได้รับความเสียหายทั้งหมดจากเหตุเพลิงไหม้เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
|-
| bgcolor = "#D5D5FF"|หาดใหญ่ ซีนีเพล็กซ์ เซ็นทรัล หาดใหญ่
| bgcolor = "#ECECFF"|14 ธันวาคม พ.ศ. 2556
| bgcolor = "#ECECFF"|22 เมษายน พ.ศ. 2561
| bgcolor = "#D5D5FF"|ปรับปรุงกลับเป็นโรงภาพยนตร์ระบบ Laser Projection System <ref>[https://www.facebook.com/story.php?story_fbid=1065025143662376&id=292129047618660]</ref> และย้ายเครื่องฉายไปยัง Aeon Mall 2 Phnom Penh
|-
|}
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==