ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อี อึน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Florence7867 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15:
| dynasty = [[ราชวงศ์โชซ็อน|โชซ็อน]]
| religion = [[โรมันคาทอลิก]] <small>(เดิม[[ขงจื๊อใหม่]])</small>
|birth_style=พระราชสมภพ}}
}}
 
'''อี อึน''' ({{korean|hangul=이은|hanja=李垠|rr=I Eun|mr=Yi Ŭn}}; 20 ตุลาคม พ.ศ. 2440 — 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2513) ต่อมามีพระนามว่า '''เจ้าชายย็อง''' ({{korean|hangul=영친왕|hanja=英親王|rr=Yeongchinwang|mr=Yŏngch'inwang}}) มีพระนามหลังสิ้นพระชนม์สวรรคตว่า '''มกุฎราชกุมารอึยมิน''' ({{korean|hangul=의민태자|hanja=懿愍太子|rr=Uimin Taeja|mr=Ŭimin T'aeja}}) เป็นพระราชโอรสใน[[จักรพรรดิโคจง]] กับเจ้าหญิงพระชายาซุนฮ็อน พระองค์เป็นผู้นำราชวงศ์โชซ็อนลำดับที่ 28 เป็นนายทหารประจำกองทัพญี่ปุ่น และเป็นมกุฎราชกุมารพระองค์สุดท้ายของเกาหลีด้วย
 
== พระประวัติ ==
=== พระชนม์ชีพช่วงต้น ===
[[ไฟล์:Crown Prince Yoshihito and Crown Prince Lee Eun 1907.jpg|thumb|left|จากซ้าย [[จักรพรรดิไทโช|มกุฎราชกุมารโยะชิฮิโตะ]], เจ้าชายอึน และ[[เจ้าชายทะเกะฮิโตะ เจ้าชายอะริซุงะวะ|เจ้าชายทะเกะฮิโตะ]]ใน[[โซล|เคโจ]]เมื่อปี พ.ศ. 2450]]
มกุฎราชกุมารอึยมินประสูติยมินพระราชสมภพเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2440 ณ [[พระราชวังท็อกซู]] เป็นพระราชโอรสลำดับที่เจ็ดใน[[จักรพรรดิโคจง]]กับพระสนมอ็อมแห่งย็องว็อล (มีชื่อตัวว่าอ็อม ซ็อน-ย็อง หลังสิ้นพระชนม์สถาปนาขึ้นเป็นพระชายาซุนฮ็อน) พระองค์มีพระเชษฐาต่างชนนีซึ่งเป็นที่รู้จักสองพระองค์คือ[[จักรพรรดิซุนจง]]และ[[อี คัง|เจ้าชายอีฮวา]] ต่อมาเจ้าชายอึนได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นเจ้าชายย็อง ในปี พ.ศ. 2443 และเป็นมกุฎราชกุมารในปี พ.ศ. 2450 ตามลำดับ แม้ว่าพระองค์จะมีพระชันษาชนมพรรษาอ่อนกว่าเจ้าชายอีฮวา แต่ฐานเสียงสนับสนุนเจ้าชายอีฮวาในราชสำนักนั้นไม่สู้ดีนัก เนื่องจากพระสนมชังพระชนนีของเจ้าชายอีฮวาถึงแก่อนิจกรรมไปก่อนหน้า
 
เดือนธันวาคม พ.ศ. 2450 มกุฎราชกุมารแห่งเกาหลีถูกส่งไปยัง[[ประเทศญี่ปุ่น]]เพื่อทรงศึกษาต่อในโรงเรียนขุนนาง[[กะกุชูอิง]] แล้วทรงศึกษาต่อที่[[Imperial Japanese Army Academy|โรงเรียนเตรียมทหารจักรวรรดิญี่ปุ่น]]จนสำเร็จการศึกษาเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2460 ได้รับการแต่งตั้งให้มียศเป็นร้อยโทประจำหน่วยทหารราบและเลื่อนชั้นยศเป็นพลโทแห่ง[[กองกำลังพิเศษทางอากาศกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น]]เป็นตำแหน่งสุดท้าย
บรรทัด 28:
มกุฎราชกุมารอึนได้เสกสมรสกับ[[อี พัง-จา|เจ้าหญิงมะซะโกะแห่งนะชิโมะโตะ]] (2444–2532) พระธิดาพระองค์ใหญ่ใน[[เจ้าชายโมะริมะซะ เจ้าชายนะชิโมะโตะ]] เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2463 ณ กรุง[[โตเกียว]] มีพระโอรสสองพระองค์คือ[[อี จิน]] (2464–2465) และ[[อี กู]] (2474–2548)
 
เกาหลีถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของ[[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]หลัง[[จักรพรรดิซุนจง]]ถูกบังคับให้สละราชสมบัติในปี พ.ศ. 2453 ขณะนั้นพระองค์ยังคงดำรงพระอิสริยยศเป็นมกุฎราชกุมารดังเดิม จนกระทั่งจักรพรรดิซุนจงพิราลัยเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2469 มกุฎราชกุมารจึงมีพระอิสริยยศเป็น '''พระเจ้าอึนแห่งเกาหลี''' ตาม[[สนธิสัญญาผนวกดินแดนญี่ปุ่น-เกาหลี]] แต่พระองค์มิได้รับการสถาปนาและไม่เคยผ่านพิธีราชาภิเษกเลย
 
=== รับราชการทหาร ===
บรรทัด 37:
 
=== ปลายพระชนม์ ===
หลังเกาหลีได้รับเอกราชจาก[[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]เมื่อปี พ.ศ. 2488 มกุฎราชกุมารอึนได้ทรงขออนุญาตจาก[[อี ซึง-มัน]] ประธานาธิบดีคนแรกของ[[เกาหลีใต้]]เสด็จนิวัตกลับมาตุภูมิแต่ทว่าถูกประธานาธิบดีปฏิเสธ จนกระทั่ง[[พัก ช็อง-ฮี]] ประธานาธิบดีคนที่สามของเกาหลีใต้ได้อนุญาตให้มกุฎราชกุมารอึนและพระราชวงศ์พระองค์อื่น ๆ เสด็จนิวัตเกาหลีใต้ แต่หลังจากนั้นพระองค์ประชวรด้วยมีพระอาการ[[โรคโพรงเลือดดำสมองอุดตัน]] (cerebral thrombosis) ประทับรักษาที่โรงพยาบาลเซนต์แมรีส์ (St. Mary's Hospital) ใน[[โซล]]
 
เดิมมกุฎราชกุมารอึนนับถือ[[ลัทธิขงจื๊อใหม่]] แต่ภายหลังทรงเข้ารีตนิกาย[[โรมันคาทอลิก]] มีนามทางศาสนาว่ายอแซฟ
 
ในปีสุดท้ายของพระชนม์ชีพ มกุฎราชกุมารอึนประทับอยู่ในพระตำหนักนักซ็อนใน[[พระราชวังชังด็อก]]ร่วมกับ[[อี พัง-จา|เจ้าหญิงพังจา]]พระชายาพระวรชายา และ[[เจ้าหญิงท็อกฮเย]]พระขนิษฐา พระองค์สิ้นพระชนม์เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 ณ พระตำหนักนักซ็อน พระราชวังชังด็อก มีพิธีปลงพระบรมศพ ณ ฮงรึงในนัมยังจูใกล้กรุงโซล มีพระนามหลังสิ้นพระชนม์สวรรคตว่า'''มกุฎราชกุมารอึยมิน'''
 
== พระบุตร ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อี_อึน"