ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สำเนียงโคราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
== ลักษณะทางสัทศาสตร์ ==
{{เก็บกวาด}}
ภาษาไทยโคราช เป็นภาษาถิ่นไทยกลาง แต่สำเนียงค่อนข้าง เหน่อ ห้วนสั้น เกิ่นเสียง มีภาษาไทลาว(อีสาน)ปะปนบ้างเล็กน้อย และมีสำนวนวรรณยุกต์ที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองที่แตกต่างจากภาษาไทยกลางบ้าง มักใช้ไม้เอกแทนไม้โท เช่น โม่(โม้) เสื่อ (เสื้อ) เป็นต้น คำศัพท์รากศัพท์ทั่วไปตรงภาษาไทยกลาง
 
[[ภาษา]][[ไท]][[โคราช]] เป็นภาษาไทถิ่นกลาง คำศัพท์ทั่วไปตรงกับภาษาไทถิ่นกลาง มีสำเนียงค่อนข้างเหน่อและห้วนสั้นแบบภาคกลาง แต่มีการผันคำต่ำ-สูงที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองที่แตกต่างจากภาษาไทถิ่นกลางบ้าง โดยมักใช้เสียงวรรณยุกต์เอก(เสียงต่ำ)แทนเสียงวรรณยุกต์โท(เสียงสูง) เช่น "โม่" แทน "โม้" หรือ "เสื่อ" แทน "เสื้อ" เป็นต้น นอกจากนี้ยังยืมคำในภาษาไทถิ่น[[อิสาน]]มาใช้ปะปนกันด้วยเล็กน้อย
เป็นภาษาที่ใช้มากใน จังหวัดนครราชสีมา เกือบทุกอำเภอ ยกเว้นบางอำเภอที่มีชาวไทยลาว(ชาวอิสาน)มากกว่า เช่น บัวใหญ่ สูงเนิน ปักธงชัย และพบว่ามีการใช้ภาษาไทยโคราชในบางส่วนของจังหวัด สระบุรี ลพบุรี เพชรบูรณ์ ชัยภูมิ บุรีรัมย์ เป็นต้น
 
== ต้นกำเนิด ==
เชื่อกันว่าสาเหตุที่ภาษาไทยโคราชเพี้ยนไปจากภาษาไทยกลางบ้าง เพราะ บรรพบุรุษของชาวไทยโคราช พื้นเพอพยพมาจากอยุธยา และแถบจังหวัดชายทะเลตะวันออก ได้แก่ จันทบุรี ระยอง นครนายก เป็นต้น ต่อมาได้ผสมกลมกลืนกับกลุ่มไทยพื้นเมืองเดิม ซึ่งสันนิฐานว่าน่าจะเป็น ไท-เสียม หรือไทยสยามลุ่มน้ำมูล เกิดเป็นวัฒนธรรมไทยโคราช เรียกตนเองว่า ไท หรือไทยโคราช ไทยเบิ้ง ไทยเดิ้ง บ้าง ต่อมาได้ติดต่อกับกลุ่มชาวลาวอิสานที่อพยพเข้ามาทีหลัง และกลุ่มชาวเขมร ทำให้เกิดการผสมกันทางภาษา มีคำไทยลาว และเขมรปะปนบ้างเล็กน้อย เกิดเป็นสำเนียงโคราช ซึ่งแตกต่างจากภาษาถิ่นอิสานโดยทั่วไป แต่ยังคงรักษารากศัพท์เดิมไว้คือภาษาไทยกลาง นั่นเอง
 
เชื่อกันว่าบรรพบุรุษของชาวไทโคราชอพยพมาจาก[[อยุธยา]] และแถบจังหวัดชายทะเลตะวันออก ได้แก่ [[จันทบุรี]] [[ระยอง]] [[นครนายก]] เป็นต้น เข้ามาในบริเวณจังหวัด[[นครราชสีมา]]และพื้นที่ใกล้เคียง และได้ผสมกลมกลืนกับกลุ่มคนพื้นเมืองเดิม ซึ่งสันนิษฐานว่าน่าจะเป็น ไท-เสียม หรือไทสยามลุ่มน้ำมูล เกิดเป็นวัฒนธรรมไทโคราช เรียกตนเองว่า ไทโคราช ไทเบิ้ง หรือ ไทเดิ้ง
 
ต่อมาได้มีการติดต่อค้าขายกับชาว[[ลาว]] ชาวไทอิสานและชาว[[เขมร]] และมีการอพยพย้ายถิ่นฐานของชาวลาว ชาวไทอิสานและชาวเขมรเข้ามาทีหลัง ทำให้เกิดการวิวัฒนาการของภาษา โดนมีการยืมคำไทอิสาน และคำเขมรปะปนเข้ามาใช้ เกิดเป็นคำไทโคราช ซึ่งแตกต่างจากภาษาไทถิ่นอิสานโดยทั่วไป เพราะยังคงรักษารากศัพท์เดิมไว้คือภาษาไทถิ่นกลางนั่นเอง
 
 
== การกระจายตัว ==
 
เป็นภาษาที่ใช้มากใน จังหวัด[[นครราชสีมา ]]เกือบทุกอำเภอ ยกเว้นบางอำเภอที่มีชาวไทยลาว(ชาวอิสาน)อีสานอยู่เป็นจำนวนมากกว่า เช่น อำเภอบัวใหญ่ อำเภอสูงเนิน อำเภอปักธงชัย และพบว่ามีการใช้ภาษาไทยโคราชในบางส่วนของจังหวัด สระบุรี ลพบุรี เพชรบูรณ์ ชัยภูมิ บุรีรัมย์ เป็นต้นเป็นตัน
 
นอกจากนี้พบว่ามีการใช้ภาษาไทโคราชในประชากรบางส่วนของจังหวัด [[สระบุรี]] [[ลพบุรี]] [[เพชรบูรณ์]] [[ชัยภูมิ]] [[บุรีรัมย์]] อีกด้วย
 
== อ้างอิง ==
<references /> วิกิพีเดียภาษาอังกฤษ