ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อันดับเฮดจ์ฮอก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 0 sources and tagging 1 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.6
 
บรรทัด 34:
ลักษณะโดยรวมของสัตว์ที่อยู่ในอันดับนี้ เป็นสัตว์ขนาดเล็ก กินแมลงเป็นอาหาร มีทั้งออกหากินในเวลากลางวัน และออกหากินในเวลากลางคืน อาศัยอยู่บนพื้นและบนต้นไม้ ยืนด้วยฝ่าเท้า มีสมองส่วนรับกลิ่นเจริญดี แต่สายตาไม่ดี นอกจากกินแมลงแล้วยังอาจจะยังกินสัตว์ขนาดเล็กกว่าหรือ[[พืช]]และ[[ผลไม้]]เป็นอาหาร <ref>สัตววิทยา (การจัดหมวดหมู่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม), บพิธ-นันทพร จารุพันธุ์, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2547, หน้า 414 - 416</ref>
 
จำแนกออกได้เพียง[[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]]เดียว คือ Erinaceidae 10 [[genus|สกุล]] (ดูในตาราง) 24 [[species|ชนิด]] โดยที่รู้จักกันเป็นอย่างดี คือ [[เฮดจ์ฮอก]] (Erinaceinae) ซึ่งเป็นสัตว์ขนาดเล็กมีขนที่เป็นหนามแข็งขนาดเล็กคล้าย[[เม่น]]ซึ่งอยู่ใน[[อันดับสัตว์ฟันแทะ]] (Rodentia) พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาค[[ยุโรป]] สำหรับใน[[ประเทศไทย]]พบ 2 เท่านั้น คือ [[หนูเหม็น]] (''Echinosorex gymnurus'') หรือสาโท ที่มีลักษณะคล้าย[[หนู]]แต่มีขนาดใหญ่กว่า และมีกลิ่นตัวเหม็นอย่างรุนแรงคล้ายกับกลิ่นของ[[แอมโมเนีย]]<ref>Hutterer, Rainer (16 November 2005). Wilson, Don E., and Reeder, DeeAnn M.. ed. ''Mammal Species of the World'' (3rd ed.). Baltimore: Johns Hopkins University Press, 2 vols. (2142 pp.). pp. 212–219. ISBN 978-0-8018-8221-0. OCLC 62265494. http://www.bucknell.edu/msw3/browse.asp?id=13600002 {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20080322214758/http://www.bucknell.edu/msw3/browse.asp?id=13600002 |date=2008-03-22 }}.</ref> <ref>[http://www.tistr.or.th/t/publication/page_area_show_bc.asp?i1=92&i2=44&noshow=1 หนูเหม็น]{{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> และ[[Hylomys suillus|หนูผีหางหมู]] (''Hylomys suillus'')<ref>[http://www.verdantplanet.org/mammaltax/mammaltaxonomy.php?sciname=Hylomys+suillus ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Hylomys suillus'']</ref>
 
==อ้างอิง==