ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรุงเทพมหานครและปริมณฑล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
Armin Arlertz (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล นิคม
[[ไฟล์:Thailand| Bangkokname and vicinity.png|250px|thumb|right| = กรุงเทพมหานครและปริมณฑล]]
 
| native_name = {{lang|en|Bangkok Metropolitan Region}}
| native_name_lang = th
| settlement_type = [[เขตมหานคร]]
| image_skyline = DGJ_4474_-_Back_in_Bangkok_(3743573118).jpg
| image_caption = [[กรุงเทพมหานคร]]
| subdivision_type = ประเทศ
| subdivision_name = {{flagcountry|Thailand}}
| subdivision_type1 = [[จังหวัดของประเทศไทย|ภูมิภาค]]
| subdivision_name1 = [[ภาคกลาง (ประเทศไทย)|ภาคกลาง]]
----
| subdivision_type3 = เมืองหลัก
| subdivision_name3 = [[กรุงเทพมหานคร]] <br />[[จังหวัดนนทบุรี]]<br />[[จังหวัดนครปฐม]]<br />[[จังหวัดปทุมธานี]]<br />[[จังหวัดสมุทรปราการ]]<br />[[จังหวัดสมุทรสาคร]]
| population_metro = 15,624,700
| area_metro_km2 = 7,761.60
| population_urban = 10,820,921 (ประมาณจำนวนประชากรทั้งขึ้นทะเบียนราษฎร และไม่ขึ้นทะเบียนราษฎร)
| area_urban_km2 = 1,568.7
| population_total =
| population_note =
| population_as_of =
| population_footnotes =
| population_density_urban_km2 = 3,622.20
| population_density_metro_km2 = 1,452.63
| image_map = เทศบาลนครนนทบุรี.png
| map_caption = [[เทศบาลนครนนทบุรี|นนทบุรี]]
| image_map1 = Thailand Bangkok and vicinity.png
| coordinates = {{coord|13|45|09|N|100|29|39|E|region:TH-10|display=inline,title}}
| blank_name_sec1 = [[จีดีพี]]
| blank_info_sec1 = 2021 ประมาณการ
| blank1_name_sec1 = ตัวเงิน
| blank1_info_sec1 = 8,025,935 ล้านบาท<ref>สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. สำนักนายกรัฐมนตรี. "ตารางสถิติผลิตภัณฑ์ภาคและจังหวัด (2538-2562)
Table of Gross Regional and Provincial Product (1995-2019) (Excel) ." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=gross_regional https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=gross_regional] 2564. สืบค้น 5 กันยายน 2564.</ref><ref>[https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parbudget/download/article/article_20200826092620.pdf วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : จังหวัดและกลุ่มจังหวัด] สำนักงบประมาณของรัฐสภา</ref>
| blank2_name_sec1 = อำนาจบริโภค
| blank2_info_sec1 =
}}
{{Location map+ | Bangkok Metropolitan Region
|caption=<center>กรุงเทพมหานครและปริมณฑล</center>
เส้น 14 ⟶ 48:
}}
 
'''กรุงเทพมหานครและปริมณฑล''' ({{lang-en|Bangkok Metropolitan Region}})<ref name="Bangkok Metropolitan Region Study">NESDB, Bangkok Metropolitan Region Study, 1985</ref> เป็นเขตเมืองของ[[กรุงเทพมหานคร]]และ[[จังหวัด]]ที่ตั้งอยู่โดยรอบ ("ปริมณฑล" หมายถึง วงรอบ) ครอบคลุมพื้นที่กว่า 7 พันตารางกิโลเมตร [[แม่น้ำ]]สายสำคัญที่ไหลผ่าน ได้แก่ [[แม่น้ำเจ้าพระยา]]และ[[แม่น้ำท่าจีน]] มีประชากรที่มีภูมิลำเนาจดทะเบียนตามหลักฐานทะเบียนราษฎรรวมกันประมาณ 10.6 ล้านคน ([[ธันวาคม|เดือนธันวาคม]] [[พ.ศ. 2555]]) แต่ยังมีจำนวนผู้อยู่อาศัย (residents) ที่ไม่ได้จดทะเบียนเป็นภูมิลำเนาอยู่อีกเป็นจำนวนมาก ซึ่งในเวลากลางวันจะมีประชากรถึง 1316 ล้านกว่าคนที่อยู่ในเขตนี้{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}} กรุงเทพมหานครและปริมณฑลนับว่าเป็นเขตเศรษฐกิจที่มีความเจริญที่สุด และเป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การสาธารณสุข การบริหารราชการ พาณิชยกรรม และการเงินของประเทศ
 
== การแบ่งเขตการปกครอง ==
เส้น 109 ⟶ 143:
|1,386.97|| 1,347.11 || 79 || 488
|}
 
== การศึกษา ==
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นศูนย์กลางการศึกษาของประเทศ มีสถาบันอุดมศึกษาตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก ส่วนใหญ่มหาวิทยาลัยในช่วงแรกตั้งอยู่ในเมืองหลวง ได้แก่ [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] [[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] [[มหาวิทยาลัยศิลปากร]] และมหาวิทยาลัยเฉพาะทาง ด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ที่ก่อตั้งขึ้นในช่วงแรกๆเพื่อผลิตบัณฑิตรองรับการเติบโตด้านอุตสาหกรรมของประเทศไทย ได้แก่ [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี]] [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ]] ปัญญาชนต่าง ๆ ของประเทศล้วนมาจากการบ่มเพาะทั้งศาสตร์และศิลป์จากสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำในระดับอุดมศึกษาของกรุงเทพมหานครทั้งสิ้น เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐที่ปูรากฐานให้นักคิดมาเกือบศตวรรษ กว่าทศวรรษที่ผ่านมา แนวโน้มของการใฝ่หาการศึกษาระดับปริญญาทำให้เกิดมหาวิทยาลัยใหม่ ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของนักเรียนไทย กรุงเทพมหานครไม่กลายเป็นเพียงสถานที่ที่ผู้อพยพและคนต่างจังหวัดแสวงหาโอกาสในการทำงาน แต่ยังเป็นโอกาสที่จะได้รับปริญญาจากมหาวิทยาลัย [[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]] ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2514 เป็นมหาวิทยาลัยตลาดวิชาเพียงแห่งเดียวในประเทศ แต่ก็มีการลงทะเบียนเรียนของนักศึกษาสูงที่สุดเมื่อเทียบกับมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ของไทย มหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นหนึ่งในวิธีที่รัฐบาลไทยใช้จัดการกับการเพิ่มขึ้นของความต้องการการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ความต้องการในการศึกษาระดับสูงได้นำไปสู่​​การก่อตั้งมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยอื่น ๆ ด้านคุณภาพและการจัดอันดับมหาวิทยาลัยไทยในระดับโลก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เป็นเพียงมหาวิทยาลัยแห่งเดียวของไทยที่ติดอันดับ top 400 ของการจัดอันดับ Times Higher Education World University Ranking อีกทั้งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยมหิดล เป็นเพียง 2 มหาวิทยาลัยที่ติดอันดับ top 500 ของการจัดอันดับ QS World University Ranking
 
== เศรษฐกิจ ==
[[ไฟล์:เซ็นทรัล เอ็มบาสซี Central Embassy 2021.jpg|thumbnail|เซ็นทรัล เอ็มบาสซี]]
 
กรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีรายได้หลักจากการเก็บ[[ภาษีมูลค่าเพิ่ม]]<ref name=autogenerated4>{{Cite web |url=http://203.155.220.217/finance/stat.html |title=ข้อมูลสถิติด้านการเงินการคลัง‏<!-- Bot generated title --> |access-date=2012-04-25 |archive-date=2010-07-28 |archive-url=https://web.archive.org/web/20100728021124/http://203.155.220.217/finance/stat.html |url-status=dead }}</ref>โดยในอดีตที่ผ่านมารายได้นี้มีมากกว่าเงินที่รัฐบาลสนับสนุน
 
กรุงเทพมหานครและปริมณฑลเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจของประเทศไทย [[ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ]]ร้อยละ 50 มาจากรุงเทพมหานครและปริมณฑล<ref name="autogenerated1">{{Cite web |url=http://203.155.220.117:8080/BMAWWW/upload/module_cms/title_cms/file_cbbe49a141f7a94c8a382670ac51c39d.pdf |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2012-04-28 |archive-date=2016-03-25 |archive-url=https://web.archive.org/web/20160325124708/http://203.155.220.117:8080/BMAWWW/upload/module_cms/title_cms/file_cbbe49a141f7a94c8a382670ac51c39d.pdf |url-status=dead }}</ref> ซึ่งมาจากการค้าปลีกและค้าส่งมากที่สุด ร้อยละ 24.31 รองลงมาได้แก่ อุตสาหกรรมโรงงาน ร้อยละ 21.23 อุตสาหกรรมขนส่งและอุตสาหกรรมสื่อสาร ร้อยละ 13.89 [[โรงแรม]]และ[[ภัตตาคาร]] ร้อยละ 9.04
 
กรุงเทพมหานครยังเป็นอีกเมืองหนึ่งที่กลุ่มทุนข้ามชาติต้องการเข้ามาทำธุรกิจในกรุงเทพมหานครอย่างต่อเนื่อง โดยใน พ.ศ. 2529 บริษัทญี่ปุ่นต่าง ๆ ได้ดำเนินการอย่างจริงจังในการเคลื่อนไหวที่จะย้ายฐานการผลิตออกสู่ต่างประเทศ เป้าหมายหนึ่งคือ ที่กรุงเทพมหานคร<ref>[http://www.th.emb-japan.go.jp/th/relation/economic.htm สถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจำประเทศไทย<!-- Bot generated title -->]</ref><!-- ล้าสมัย -->
 
จากการขยายธุรกิจของต่างชาติส่งผลให้มีการจ้างแรงงานต่างด้าวเข้ามาทำงานในกรุงเทพมหานครจำนวนมาก<ref>[http://www.ryt9.com/s/bkp/1375849 กรุงเทพโพลล์: แรงงานต่างด้าว ปัญหาและความจำเป็นต่อเศรษฐกิจไ<!-- Bot generated title -->]</ref> ส่วนใหญ่มาจากประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งเป็นตัวเร่งให้เกิดปัญหาความแออัดในกรุงเทพมหานครมากขึ้น แรงงานต่างด้าวเหล่านี้ถูกยกเป็นข้อสนับสนุนและเป็นหลักฐานว่า กรุงเทพมหานครกำลังเผชิญกับภาวะการขาดแคลนแรงงานเพราะโครงสร้างประชากรในวัยทำงานลดน้อยลง<ref>{{Cite web |url=http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2008q2/2008april29p1.htm |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2012-04-25 |archive-date=2011-10-25 |archive-url=https://web.archive.org/web/20111025141434/http://nidambe11.net/ekonomiz/2008q2/2008april29p1.htm |url-status=dead }}</ref>
 
การคมนาคมเข้าสู่กรุงเทพมหานครมีมากกว่าจังหวัดอื่น เช่น ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง รวมถึงถนนในกรุงเทพมหานครที่มีจำนวนกว่า 250 สาย กรุงเทพมหานครเป็นที่ตั้งของนิคมอุตสาหกรรม 4 แห่ง<ref>{{Cite web |url=http://www.ieat.go.th/ieat/index.php?option=com_content&view=article&id=76&Itemid=116&lang=th |title=นิคมอุตสาหกรรมในประเทศไทย<!-- Bot generated title --> |access-date=2012-08-02 |archive-date=2012-08-02 |archive-url=https://archive.is/20120802174252/www.ieat.go.th/ieat/index.php?option=com_content&view=article&id=76&Itemid=116&lang=th |url-status=live }}</ref> ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง นิคมอุตสาหกรรมบางชัน นิคมอุตสาหกรรมอัญธานี โครงการ 2 และ นิคมอุตสาหกรรมอัญธานี
 
อนึ่ง เมื่อปี พ.ศ. 2552 เป็นปีแรกในรอบ 5 ปี ซึ่งโครงสร้างเศรษฐกิจของกรุงเทพมหานครหดตัวลง ยกเว้นภาคธนาคารและภาคบริหารของรัฐ<ref name="autogenerated1"/> และในปี พ.ศ. 2557 อีโคโนมิสต์ อินเทลลิเจนซ์ ยูนิต (อีไอยู) หน่วยงานวิจัยในเครือ อีโคโนมิสต์ กรุ๊ป รายงานการจัดอันดับ เมืองที่มีค่าครองชีพสูงที่สุดในโลกประจำปี ผลปรากฏว่า กรุงเทพมหานครอยู่ในอันดับที่ 61<ref>{{Cite web |url=http://englishnews.thaipbs.or.th/bangkok-ranks-61st-place-list-worlds-expensive-cities-2014/ |title=Bangkok ranks 61st place in list of world’s most expensive cities in 2014 - Thai PBS English News<!-- Bot generated title --> |access-date=2014-03-14 |archive-date=2014-03-10 |archive-url=https://web.archive.org/web/20140310165222/http://englishnews.thaipbs.or.th/bangkok-ranks-61st-place-list-worlds-expensive-cities-2014/ |url-status=dead }}</ref>
 
ในปี พ.ศ. 2559 รายงานการศึกษาตลาดอสังหาริมทรัพย์ประเภทศูนย์การค้าจากบริษัทที่ปรึกษาและบริการด้านอสังหาริมทรัพย์ เจแอลแอล (โจนส์ แลง ลาซาลล์) เปิดเผยว่า กรุงเทพฯ เป็นเมืองที่มีแบรนด์ระหว่างประเทศสนใจเข้ามาเปิดร้านจำหน่ายสินค้ามากที่สุดเป็นอันดับที่ 18 ของโลก<ref>[http://www.acnews.net/view_news_breaking.php?news_id=B255917118 เบรกกิ้งนิวส์ : กรุงเทพฯ เป็นแหล่งรวมแบรนด์สินค้าอินเตอร์มากที่สุดอันดับที่ 18 ของโลก<!-- Bot generated title -->]</ref>
 
== อ้างอิง ==