ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศฟิลิปปินส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 276:
== เศรษฐกิจ ==
=== โครงสร้างเศรษฐกิจ ===
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ(GDP)
 
=== การท่อง ===
694.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2557)
 
{{บทความหลัก|สื่อสารมวลชนในประเทศฟิลิปปินส์}}
GDP รายหัว
 
7,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2557)
 
อัตราการเจริญเติบโต GDP
 
6.2% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2557)
 
GDP แยกตามภาคการผลิต
 
• ภาคการเกษตร 10.7%
• ภาคอุตสาหกรรม 31.5%
• ภาคการบริการ 57.8% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2557)
 
อัตราการว่างงาน
 
7.2% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2557)
 
อัตราเงินเฟ้อ (Consumer Prices)
 
4.5% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2557)
 
ผลผลิตทางการเกษตร
 
อ้อย มะพร้าว ข้าว ข้าวโพด กล้วย มันสำปะหลังอัดเม็ด สัปปะรด มะม่วง เนื้อสุกร ไข่ เนื้อวัว ปลา
 
อุตสาหกรรม
 
ประกอบอุปกรณ์ไฟฟ้า เสื้อผ้าสำเร็จรูป รองเท้า เวชภัณฑ์ เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์จากไม้ แปรรูปอาหาร กลั่นน้ำมันปิโตรเลียม ตกปลา
 
อัตราการเกิบโตภาคอุตสาหกรรม
 
7.5% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2557)
 
หนี้สาธารณะ
 
48.4% ของ GDP (ค่าประมาณ พ.ศ. 2557)
 
ดุลบัญชีเดินสะพัด
 
8.668 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2557)
 
มูลค่าการส่งออก
 
53.36 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ f.o.b (ค่าประมาณ พ.ศ. 2557)
 
สินค้าส่งออก
 
ผลิตภัณฑ์สารกึ่งตัวนำและอุปกรณ์ไฟฟ้า อุปกรณ์การขนส่ง เสื้อผ้าสำเร็จรูป ผลิตภัณฑ์ทองแดง ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม น้ำมันมะพร้าว ผลไม้
 
ประเทศคู่ค้า (ส่งออก)ที่สำคัญ
 
Japan 21.2%, US 14.5%, China 12.2%, Hong Kong 8.2%, Singapore 7.4%, South Korea 5.8%, Germany 4% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2556)
 
มูลค่าการนำเข้า
 
72.93 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ f.o.b (ค่าประมาณ พ.ศ. 2557)
 
สินค้านำเข้า
 
ผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า แร่เชื้อเพลิง เครื่องจักรและอุปกรณ์การขนส่ง เหล็กและเหล็กกล้า สิ่งทอ ธัญพืช เคมีภัณฑ์ พลาสติก
 
ประเทศคู่ค้า (นำเข้า)ที่สำคัญ
 
China 13%, US 10.8%, Japan 8.4%, South Korea 7.8%, Singapore 6.8%, Thailand 5.5%, Saudi Arabia 4.6%, Indonesia 4.4% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2556)
 
สกุลเงิน
 
เปโซ (Philippine Peso)
 
สัญลักษณ์เงิน
 
PHP
 
; เกษตรกรรม : พืชเศรษฐกิจสำคัญได้แก่ [[มะพร้าว]] [[อ้อย]] [[ป่านอบากา]] และ[[ข้าวเจ้า]]
; ป่าไม้ : มีป่าไม้หนาแน่น เป็นรายได้สำคัญ คือ ไม้มะฮอกกานี
; เหมืองแร่ : ฟิลิปปินส์ไม่มีแร่ดีบุก แร่ส่งออกสำคัญ คือ [[เหล็ก]] [[โครไมต์]] [[ทองแดง]] [[เงิน]]
; อุตสาหกรรม : ใช้วัตถุดิบในประเทศ เช่น โรงงานเยื่อกระดาษ แปรรูปไม้ [[ปูนซีเมนต์]]
 
;นโยบายเศรษฐกิจและสังคม :
 
ฟิลิปปินส์มีระบบเศรษฐกิจที่คล้ายคลึงกับไทย กล่าวคือ เป็นประเทศเกษตรกรรม ประชากร ร้อยละ 60 ประกอบอาชีพเกษตรกร อย่างไรก็ดี สภาพภูมิประเทศที่เป็นหมู่เกาะส่งผลให้พื้นที่เพาะปลูกมีน้อย โดยส่วนใหญ่จะอยู่บริเวณที่ราบต่ำและเนินเขาที่ปรับให้เป็นขั้นบันไดในบริเวณเกาะลูซอน ขณะเดียวกันประชากรฟิลิปปินส์ส่วนใหญ่นิยมประกอบอาชีพในต่างประเทศ ฟิลิปปินส์จึงพึ่งพารายได้จากแรงงานฟิลิปปินส์ในต่างประเทศเพื่อการพัฒนาประเทศเป็นส่วนใหญ่
 
รัฐบาลภายใต้การบริหารงานด้านเศรษฐกิจของประธานาธิบดีอาคีโน ที่สาม เน้นนโยบายสร้างวินัยทางการคลัง โดยการบริหารงบประมาณแบบสมดุล (zero - budgeting policy) เพื่อแก้ไขภาวะงบประมาณขาดดุล อันเป็นปัญหาสืบเนื่องจากรัฐบาลชุดก่อน ในปี 2553 รัฐบาลได้กำหนดงบประมาณขาดดุลอัตราร้อยละ 4 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) หรือประมาณ 625 พันล้านเปโซ เนื่องจากความจำเป็นในการจัดสรรงบประมาณเพื่อเร่งพัฒนาโครงสร้างสาธารณูปโภค และอัดฉีดเม็ดเงินให้กับครัวเรือนที่มีรายได้ต่ำเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจภายในประเทศ นอกจากนี้ รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการลงทุนโดยสนับสนุนการสร้างกลไกความเป็นหุ้นส่วนระหว่างภาครัฐ - เอกชน (public - private partnerships) และเร่งแก้ไขกฎหมายและกฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการลงทุนของต่างชาติ ผลักดันกฎหมายป้องกันการผูกขาด (anti - trust law) เพื่อส่งเสริมการแข่งขันอย่างเท่าเทียม รวมทั้งให้ความสำคัญกับการส่งเสริมการลงทุนในสาขาสาธารณูปโภค การท่องเที่ยว ธุรกิจบริการ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เหมืองแร่ และเกษตรกรรม
 
=== การท่องเที่ยว ===
{{บทความหลัก|การท่องเที่ยว}}
 
== โครงสร้างพื้นฐาน ==
=== การคมนาคม และ โทรคมนาคม ===
==== เส้นทางคมนาคม ====
{{โครง-ส่วน}}
 
==== โทรคมนาคม ====
{{โครง-ส่วน}}
 
=== การศึกษา ===
{{บทความหลัก|การศึกษาในฟิลิปปินส์}}
*นโยบายทางการศึกษาในยุคที่เป็นอาณานิคมของสเปน
หลังจากที่ฟิลิปปินส์ตกเป็นอาณานิคมของสเปนอย่างเป็นทางการในปี ค.ศ. 1571 ระบบการศึกษาในฟิลิปปินส์ได้รับอิทธิพลจากนโยบายของจักรวรรดิสเปน สิ่งหนึ่งที่ถือเป็นเอกลักษณ์สำคัญในการเปลี่ยนแปลงของระบบการศึกษาในสมัยนั้น คือ ระบบการศึกษาแบบคาทอลิก โดยศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกมีบทบาทอย่างมากในการพัฒนาระบบการศึกษาทั้งในระดับโรงเรียนและมหาวิทยาลัยภายในฟิลิปปินส์ เพราะเป็นยุทธศาสตร์สำคัญของสเปนในการเผยแผ่คริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกในฟิลิปปินส์
ปัจจัยที่ส่งผลให้ศาสนจักรโรมันคาทอลิกประสบความสำเร็จในการปฏิรูประบบการศึกษาในประเทศฟิลิปปินส์คือ ปัจจัยด้านการถือครองที่ดิน เหตุเพราะศาสนาโรมันคาทอลิกถือครองที่ดินเป็นจำนวนมากภายในฟิลิปปินส์ ซึ่งส่งผลให้นักบวชนิกายโรมันคาทอลิกมีอิทธิพลและมีอำนาจมากในการปฏิรูประบบการศึกษา และประสบความสำเร็จในการเผยแผ่ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกภายในฟิลิปปินส์
ทั้งนี้ ระบบการศึกษาในประเทศฟิลิปปินส์ได้ถูกเปลี่ยนแปลงอีกครั้งในปี ค.ศ.1863 ผ่านกฎหมายการศึกษา (Educational Decree) ที่เน้นให้ระบบการศึกษาภายในประเทศมีความเป็นระบบ มีหลักสูตรที่มีมาตรฐาน และก่อตั้งโรงเรียนเพิ่มมากยิ่งขึ้นเพื่อรองรับประชาชนทั่วไปภายในประเทศ อย่างไรก็ดี ความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงระบบการศึกษาของคนในประเทศยังคงมีอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเหลื่อมล้ำระหว่างผู้ชายและผู้หญิง และความเหลื่อมล้ำระหว่างครอบครัวที่มีฐานะร่ำรวยและยากจน
นอกเหนือจากศาสนาและระบบการศึกษาที่เป็นระบบ ภาษาสเปนเป็นอีกสิ่งหนึ่งที่สเปนได้ทิ้งไว้แก่ประเทศอาณานิคม ซึ่งเห็นได้จากร่องรอยของมรดกทางภาษาสเปน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาษาตากาล็อกที่ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากภาษาสเปน เช่นเดียวกับการตั้งชื่อคนในประเทศ ถนนหนทาง หรือสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ในฟิลิปปินส์ที่ยังคงถูกเรียกขานเป็นภาษาสเปนจนถึงปัจจุบัน
นโยบายทางการศึกษาในยุคที่เป็นอาณานิคมของสหรัฐ
ในการปฏิรูประบบการศึกษาภายในฟิลิปปินส์ภายใต้อาณานิคมของสหรัฐ ยุทธศาสตร์สำคัญของสหรัฐ คือ ความพยายามที่จะทำให้ชาวฟิลิปปินส์มีความเป็นอเมริกันมากขึ้น (Americanization) ผ่านนโยบายการศึกษาที่ถูกคิดค้นขึ้นโดยชาวอเมริกัน
ตลอดระยะเวลาที่สหรัฐปกครองฟิลิปปินส์ มีการสนับสนุนให้ใช้ภาษาอังกฤษมากขึ้น เพื่อลดบทบาทการใช้ภาษาท้องถิ่น โดยกว่า 5 ทศวรรษของระบบการศึกษาแบบอเมริกัน นักเรียนฟิลิปปินส์ต้องศึกษาบทประพันธ์ของกวีตะวันตกชื่อดังมากมาย อาทิ วิลเลี่ยม เชคสเปียร์ เป็นต้น ส่งผลทำให้ชาวฟิลิปปินส์ให้ความสนใจกับวรรณคดีท้องถิ่นน้อยลง และใช้ภาษาอังกฤษในชั้นเรียนและในชีวิตประจำวันมากขึ้น
ถึงแม้ว่าสหรัฐ พยายามสอดแทรกวรรณกรรมตะวันตกในชีวิตประจำวันของชาวฟิลิปปินส์ แต่เมื่อเทียบกับยุคที่สเปนปกครองฟิลิปปินส์ก่อนหน้านั้น ถือได้ว่าชาวฟิลิปปินส์มีเสรีภาพในการแสดงผลงานด้านบทประพันธ์ กลอน และวารสารต่างๆ ในภาษาท้องถิ่นมากกว่าในยุคที่เป็นอาณานิคมของสเปน
อย่างไรก็ตาม ผลงานวรรณกรรมของชาวฟิลิปปินส์กลับไม่ได้รับการบรรจุในวิชาภาษาและวรรณคดีในชั้นเรียนเท่าที่ควร ซึ่งส่งผลทำให้ระบบการศึกษาแบบอเมริกันแตกต่างจากระบบการศึกษาในยุคที่เป็นอาณานิคมของสเปนโดยสิ้นเชิง นั่นคือ ชาวฟิลิปปินส์ในยุคที่ถูกปกครองโดยสหรัฐ ไม่มีโอกาสได้เรียนภาษาประจำชาติของตัวเอง เพราะภาษาท้องถิ่นถูกใช้เป็นเพียงตัวช่วยในการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เท่านั้น อีกทั้งสหรัฐยังผูกขาดการใช้ภาษาอังกฤษในระบบการศึกษา จวบจน ค.ศ. 1940 ภายหลังจากที่ญี่ปุ่นเข้ายึดครองฟิลิปปินส์ในสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่ญี่ปุ่นไม่ได้มีบทบาทในการพัฒนาการศึกษาภายในประเทศฟิลิปปินส์
 
*นโยบายการศึกษาภายหลังยุคที่เป็นอาณานิคมของสหรัฐจวบจนปัจจุบัน
ภายหลังจากที่ฟิลิปปินส์มีอิสระในการกำหนดนโยบายการศึกษาแล้ว ฟิลิปปินส์ยังคงให้ความสำคัญกับภาษาอังกฤษในระบบการศึกษา พิจารณาได้จากรัฐธรรมนูญของประเทศฟิลิปปินส์ฉบับปี ค.ศ.1987 ที่ระบุไว้อย่างชัดเจนว่า ภาษาทางการที่ใช้ในการเรียนการสอนในโรงเรียนคือภาษาฟิลิปปินส์และภาษาอังกฤษ กระทรวงศึกษาธิการของฟิลิปปินส์ได้กำหนดให้ใช้ภาษาทั้งสองในวิชาที่แตกต่างกันในการเรียนการสอน
ในปัจจุบัน นโยบายการศึกษาของฟิลิปปินส์ยังคงเป็นไปในรูปแบบอเมริกันที่เน้นภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักในการเรียนการสอน ในขณะเดียวกันสถาบันทางการศึกษาหลายต่อหลายแห่งยังคงขึ้นตรงต่อระบบการศึกษาแบบคาทอลิก อาทิ มหาวิทยาลัย ดา ลา ซาน (De La Salle University) และมหาวิทยาลัย อาเตเนโอ เด มานิล่า (Ateneo de Manila University) เป็นต้น
โดยสรุป การที่นโยบายทางการศึกษาของฟิลิปปินส์ถูกควบคุมโดยประเทศเจ้าอาณานิคมอย่างสเปนและ สหรัฐ ส่งผลดีและผลเสียแตกต่างกันไป
ผลดีสำหรับฟิลิปปินส์คือ ระบบการศึกษาของฟิลิปปินส์มีคุณภาพ มีมาตรฐานและเป็นระบบมากยิ่งขึ้น ผ่านการปฏิรูปทางการศึกษาของสเปน รวมไปถึงการที่ประชาชนภายในประเทศมีระดับความสามารถทางภาษาอังกฤษที่สูงขึ้นภายใต้ระบบการศึกษาแบบอเมริกัน
ผลเสียภายใต้การปกครองโดยสเปนและสหรัฐ คือ การถูกลิดรอนอิสรภาพในการกำหนดทิศทางทางการศึกษาด้วยตัวเอง อาทิ ประชาชนฟิลิปปินส์ได้รับอิทธิพลและกฎเกณฑ์ต่างๆ ภายใต้ระบบการศึกษาแบบคาทอลิก หรือการที่เอกลักษณ์ของชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งวรรณกรรมและภาษาท้องถิ่นได้รับการอนุรักษ์และให้ความสำคัญที่น้อยลงภายใต้ระบบการศึกษาแบบอเมริกัน
 
=== วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== สาธารณสุข ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== สวัสดิการสังคม ===
{{โครง-ส่วน}}
 
== ประชากรศาสตร์ ==
{{105,000,000 ในวันที่ 1 มีนาคม 2013}}
[[ไฟล์:Philippine ethnic groups per province.PNG|thumb|200px|แผนที่แสดงชนกลุ่มน้อยต่างๆ ในฟิลิปปินส์]]
มีปัญหาชนกลุ่มน้อยมุสลิมใน[[เกาะมินดาเนา]] ซึ่งต้องการแยกตัวเป็นอิสระ เรียกว่า "[[แนวปลดปล่อยแห่งชาติโมโร]]"
 
=== ภาษา ===
{{บทความหลัก|ภาษาในประเทศฟิลิปปินส์}}
มีการใช้[[ภาษา]]มากกว่า 170 ภาษา โดยส่วนมากเกือบทั้งหมดนั้นเป็นตระกูลภาษาย่อยมาลาโย-โปลินีเซียนตะวันตก แต่ในปี [[พ.ศ. 2530]] รัฐธรรมนูญได้ระบุให้[[ภาษาตากาล็อก|ภาษาฟิลิปีโน]]และ[[ภาษาอังกฤษ]]เป็น[[ภาษาทางการ]]
 
ส่วนภาษาต่างประเทศอื่น ๆ ที่ใช้กันมากในประเทศฟิลิปปินส์มีทั้งหมด 8 ภาษา ได้แก่ [[ภาษาสเปน]] [[สำเนียงฮกเกี้ยน|ภาษาจีนฮกเกี้ยน]] [[สำเนียงแต้จิ๋ว|ภาษาจีนแต้จิ๋ว]] [[ภาษาอินโดนีเซีย]] [[ภาษาซินด์]] [[ภาษาปัญจาบ]] [[ภาษาเกาหลี]] และ[[ภาษาอาหรับ]]
 
โดยฟิลิปปินส์นั้น มีภาษาประจำชาติคือ ภาษา ตากาล็อก
 
หมายเหตุ:
จากการพูดคุยกับชาวฟิลิปปินส์ (รวมถึงนั่งดูรายการทีวีและฟังจากสถานีวิทยุ) ทราบว่า ปัจจุบัน ชาวฟิลิปปินส์ มีการใช้ภาษาที่เรียกว่า ทากรีส (Tagalog + English) คือพูดตากาล็อกคำอังกฤษคำ ผสมกันไปในประโยคสนทนา แต่เป็นที่เข้าใจกันในหมู่ของประชาชน แม้แต่ในรายการทีวีและรายการวิทยุ
 
=== ศาสนา ===
{{บทความหลัก|ศาสนาในประเทศฟิลิปปินส์}}
{{Bar box
| title = {{สี|white|ศาสนาในประเทศฟิลิปปินส์}}
| titlebar = blue
| left1 = '''ศาสนา'''
| right1 = '''%'''
| float = right
| bars =
{{Bar percent|[[ศาสนาคริสต์|คริสต์]]|Blue|92.9}}
{{Bar percent|[[ศาสนาอิสลาม|อิสลาม]]|Green|5.6}}
{{Bar percent|[[ศาสนาฮินดู|ฮินดู]]|red|1}}
{{Bar percent|ศาสนาอื่น ๆ|orange|0.5}}
}}
[[ไฟล์:Philippines Christian-Muslim Division Map (by majority).png|thumb|200px|สัดส่วนของศาสนาต่างๆ ในฟิลิปปินส์ สีน้ำเงินคือ[[ศาสนาคริสต์]] สีเขียวคือ[[ศาสนาอิสลาม]]]]
ในปี ค.ศ. 2014<ref>[https://en.wikipedia.org/wiki/Religion_in_the_Philippines] Religion in the Philippines</ref> ฟิลิปปินส์เป็นประเทศที่มีประชากรนับถือ แบ่งได้ดังนี้ [[ศาสนาคริสต์]] 92.9% ([[นิกายโรมันคาทอลิก]] 82.9% [[นิกายโปรเตสแตนต์]] 10%) [[ศาสนาอิสลาม]] 5.6% [[ศาสนาฮินดู]] 1% และศาสนาอื่น ๆ 0.5%
 
== วัฒนธรรม ==
{{บทความหลัก|วัฒนธรรมฟิลิปปินส์}}
ฟิลิปปินส์เป็นประเทศเดียวใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]ที่อยู่ภายใต้อิทธิพลของตะวันตกก่อนจะได้มีโอกาสพัฒนาวัฒนธรรมของตัวเอง วัฒนธรรมฟิลิปปินส์จะมีส่วนคล้ายกับประเทศใน[[ละตินอเมริกา]] ประชาชนแบ่งออกเป็นชุมนุมชนทางเชื้อชาติและภาษาที่แตกต่างกัน
 
=== อาหาร ===
{{บทความหลัก|อาหารฟิลิปปินส์}}
[[อาโดโบ]] เป็นหนึ่งในอาหารยอดนิยมของประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นที่นิยมของนักเดินทางหรือนักเดินเขา ทำจากหมูหรือไก่ที่ผ่านกรรมวิธีหมักและปรุงรสโดยจะใส่ซีอิ๊วขาว น้ำส้มสายชู กระเทียมสับ ใบกระวาน พริกไทยดำ นำไปทำให้สุกโดยใส่ในเตาอบหรือทอด และรับประทานกับข้าว
 
=== ศิลปะ ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== สื่อสารมวลชน ===
{{บทความหลัก|สื่อสารมวลชนในประเทศฟิลิปปินส์}}
{{โครง-ส่วน}}
 
=== กีฬา ===
{{บทความหลัก|ฟิลิปปินส์ในโอลิมปิก|ฟิลิปปินส์ในเอเชียนเกมส์}}
== ดูเพิ่ม ==
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Sister project links|voy=Philippines}}
 
; รัฐบาล
* [http://www.gov.ph/ Official website of the Official Gazette of the Philippines]
* [http://www.congress.gov.ph/ Official website of the House of Representatives of the Philippines]
* [http://www.judiciary.gov.ph/ Official website of the Supreme Court of the Philippines]
* [http://www.bsp.gov.ph/ Official website of Bangko Sentral ng Pilipinas (Central Bank of the Philippines)]
* [http://www.neda.gov.ph/ Official website of the National Economic and Development Authority (NEDA)]
* [http://www.bas.gov.ph/ Official website of the Bureau of Agricultural Statistics]
* [http://www.pnp.gov.ph/ Official website of the Philippine National Police (PNP)]
* [http://www.tourism.gov.ph/ Official website of the Department of Tourism]
 
; ข้อมูลพื้นฐาน
* [https://www.cia.gov/library/publications/world-leaders-1/world-leaders-p/philippines.html Chiefs of State and Cabinet Members]
* [http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-15521300 Philippines profile] from the [[BBC News]]
* [http://web.archive.org/web/20110521230339/http://ucblibraries.colorado.edu/govpubs/for/philippines.htm Philippines] at UCB Libraries GovPubs
* [http://www.wiki.answers.com/Q/FAQ/2802 WikiAnswers: Q&A about the Philippines]
* {{Wikia|Philippines|Philippines}}
* {{CIA World Factbook link|rp|Philippines}}
* {{dmoz|Regional/Oceania/Philippines}}
* [http://www.britannica.com/EBchecked/topic/456399/Philippines Philippines] at ''[[Encyclopædia Britannica]]''
* [http://www.noypi.ph/ Philippine News and Current Events]
* [http://www.pima.org/contentpage/News.aspx Philippines News and Press Release Distribution]
* [http://www.ifs.du.edu/ifs/frm_CountryProfile.aspx?Country=PH Key Development Forecasts for the Philippines] from [[International Futures]]
 
; หนังสือ และ หัวข้อที่นาสนใจ
* [http://www.gutenberg.org/browse/authors/b#a2296 History of the Philippine Islands] in many volumes, from [[Project Gutenberg]] (indexed under [[Emma Helen Blair]], the general editor)
* [http://newsweek.washingtonpost.com/postglobal/america/philippines/ Washington Post – How the Philippines Sees America]
 
; สื่อ
<!--Do not add commercial links or your website. Suggest them via the discussion page. Failure to do so will mean the deletion of your websites as spam.-->
* [[meta:Wikimedia Philippines|Wikimedia Philippines]]
* {{Wikiatlas|Philippines}}
 
; อื่นๆ
<!--Do not add commercial links or your website. Suggest them via the discussion page. Failure to do so will mean the deletion of your websites as spam.-->
* [http://www.adb.org/ Asian Development Bank (ADB)]
* [http://www.filipiniana.net/ Filipinana.net – Free digital library and a research portal]
* [http://www.wikimapia.org/#y=12554564&x=122915039&z=6&l=0&m=a WikiSatellite view of Philippines] at [[WikiMapia]]
* {{Wikivoyage|Philippines}}
 
{{ประเทศฟิลิปปินส์}}