พระยาปรีชาชลยุทธ (วัน จารุภา)
พลเรือตรี พระยาปรีชาชลยุทธ์ (วัน จารุภา) ท.จ. ต.ม. จ.ช. ร.ด.ม. (ศ) ร.จ.ม. ว.ป.ร. ๔ ป.ป.ร. ๓ ร.จ.ท. ๖ เป็นคณะกรรมการราษฎร รัฐมนตรี และผู้บัญชาการทหารเรือ
พระยาปรีชาชลยุทธ (วัน จารุภา) | |
---|---|
รัฐมนตรี | |
ดำรงตำแหน่ง 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 – 8 สิงหาคม พ.ศ. 2476 | |
นายกรัฐมนตรี | พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) |
กรรมการราษฎร | |
ดำรงตำแหน่ง 28 มิถุนายน – 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 | |
ประธาน | พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) |
ผู้บัญชาการทหารเรือ | |
ดำรงตำแหน่ง 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 – 4 สิงหาคม พ.ศ. 2476 | |
ก่อนหน้า | พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร (ในฐานะเสนาบดี) |
ถัดไป | พระยาวิชิตชลธี (ทองดี สุวรรณพฤกษ์) |
การศึกษา
แก้พระยาปรีชาชลยุทธ์ (วัน จารุภา) จบการศึกษาจากโรงเรียนเทพศิรินทร์ เข้ารับการศึกษาปีพ.ศ. 2452 จบการศึกษาปีพ.ศ. 2458[1]
การทำงาน
แก้พระยาปรีชาชลยุทธ์ (วัน จารุภา) ได้ดำรงตำแหน่งต่างๆ ดังนี้
- กรรมการราษฎร 28 มิถุนายน - 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475
- รัฐมนตรี 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 - 8 สิงหาคม พ.ศ. 2476
- ผู้บัญชาการทหารเรือ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2475[2]- 5 สิงหาคม พ.ศ. 2476[3]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
แก้- พ.ศ. 2474 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) (ฝ่ายหน้า)[4]
- พ.ศ. 2466 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นที่ 3 ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.)[5]
- พ.ศ. 2464 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นที่ 4 จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก (จ.ช.)[6]
- พ.ศ. 2465 – เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ))[7]
- พ.ศ. 2471 – เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)[8]
- พ.ศ. 2458 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 5 (ว.ป.ร.5)[9]
- พ.ศ. 2460 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 4 (ว.ป.ร.4)[10]
- พ.ศ. 2473 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 7 ชั้นที่ 3 (ป.ป.ร.3)[11]
- พ.ศ. 2472 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 7 ชั้นที่ 4 (ป.ป.ร.4)[12]
- พ.ศ. 2459 – เหรียญราชรุจิทอง รัชกาลที่ 6 (ร.จ.ท.6)[13]
อ้างอิง
แก้- ↑ สมาคมนักเรียนเก่าเทพศิรินทร์ ในพระบรมราชูถัมภ์, หอเกียรติยศนักเรียนเก่า เก็บถาวร 2018-07-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ แจ้งความประธานคณะกรรมการราษฎร (หน้า ๑๒๘๓)
- ↑ ประกาศ ย้ายนายทหารเรือ
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-09-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๔๘ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๐๙๕, ๑๕ พฤศจิกายน ๒๔๗๔
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญ เก็บถาวร 2022-04-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๔๐ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๔๔๐, ๗ มกราคม ๒๔๖๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-04-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๓๘ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๑๖๗๕, ๑๘ กันยายน ๒๔๖๔
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาเข็มศิลปวิทยา เก็บถาวร 2022-04-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๔๐ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๗๓, ๖ พฤษภาคม ๒๔๖๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-04-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๔๕ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๑๙๕, ๒๒ เมษายน ๒๔๗๑
- ↑ พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์รัชกาลปัจจุบัน (หน้า 2609)
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ เก็บถาวร 2022-04-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๓๔ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๓๒๒, ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๔๖๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-04-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๔๗ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๔๒๘๙, ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๔๗๓
- ↑ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
- ↑ พระราชทานเหรียญราชรุจิ