พรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการี

พรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการี (ฮังการี: Magyar Szocialista Munkáspárt, MSzMP) เป็นพรรคการเมืองลัทธิมากซ์–เลนิน[1] ที่ปกครองสาธารณรัฐประชาชนฮังการี ระหว่าง ค.ศ. 1956 ถึง ค.ศ. 1989 พรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการีถูกจัดตั้งขึ้นจากรากฐานของพรรคประชาชนแรงงานฮังการี ระหว่างการปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956 โดยมียาโนช กาดาร์ เป็นเลขานุการลำดับที่หนึ่ง พรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการีควบคุมกองกำลังของตน คือ กองทัพประชาชนฮังการี

พรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการี
Magyar Szocialista Munkáspárt
ผู้นำคนแรกยาโนส คาดาร์
ผู้นำคนสุดท้ายRezső Nyers
ก่อตั้ง31 ตุลาคม 1956
ถูกยุบ7 ตุลาคม 1989
ก่อนหน้าพรรคประชาชนแรงงานฮังการี
ถัดไปพรรคแรงงานฮังการี, พรรคแรงงานคอมมิวนิสต์ฮังการี
ที่ทำการบูดาเปสต์, สาธารณรัฐประชาชนฮังการี
ฝ่ายเยาวชนสันนิบาตยุวชนคอมมิวนิสต์ฮังการี
อุดมการณ์คอมมิวนิสต์,
มาร์กซิสต์-เลนินนิสต์,
Kádárism
จุดยืนซ้ายจัด
สีแดง, ขาว, เขียว (สีของธงชาติฮังการี)
การเมืองฮังการี
รายชื่อพรรคการเมือง
การเลือกตั้ง
ใบปลิวชวนเชื่อของพรรคซึ่งมีข้อความว่า "เอกภาพอันแบ่งแยกมิได้ซึ่งพรรคของเราและประชาชนของเราจงเจริญ!"

ผู้นำพรรค แก้

เลขานุการ/เลขานุการลำดับที่หนึ่ง แก้

ที่ รูปภาพ ชื่อ
(เกิด–เสียชีวิต)
วาระ ตำแหน่ง หมายเหตุ
1   ยาโนช กาดาร์
(ค.ศ. 1912–1989)
1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956[2] 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1988 เลขานุการลำดับที่ 1 ยังเป็นนายกรัฐมนตรี (ค.ศ. 1956–1958 และ ค.ศ. 1961–1965)
เลขานุการ

(ตั้งแต่วันที่ 28 มีนาคม ค.ศ. 1985)

2   คาโรลี กรอสซ์
(ค.ศ. 1930–1996)
22 พฤษภาคม ค.ศ. 1988 26 มิถุนายน ค.ศ. 1989[3] ยังเป็นนายกรัฐมนตรี (ค.ศ. 1987–1988)

ประธานคณะผู้บริหารพรรค แก้

ที่ รูปภาพ ชื่อ
(เกิด–เสียชีวิต)
วาระ ตำแหน่ง
1   เรเซโย นาเย
(ค.ศ. 1923–2018)
26 มิถุนายน ค.ศ. 1989 7 ตุลาคม ค.ศ. 1989 Party President[4]
  1. "Hungary - Ideology". www.country-data.com. สืบค้นเมื่อ 2017-04-04.
  2. Previously First Secretary of the disbanded Hungarian Working People's Party 25–30 October 1956.
  3. Continued as general secretary until 7 October 1989 but outranked by Rezső Nyers, the Chairman of the 4-man Presidency of the newly created Political Executive Committee which replaced the Politburo after 26 June 1989.
  4. While Grósz retained the title of General Secretary until 7 October, Nyers held the chairmanship of the Party's four-man presidency after the reorganization of the Party leadership on 26 June. This made him de facto chief executive of both the Party and the country after that date, a post he held for most of the summer of 1989.