พญามังกร หรือ เทพเจ้ามังกร เป็นเทพเจ้ามังกรในศาสนาชาวบ้านจีน ศาสนาพุทธในประเทศจีน ศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น ศาสนาพุทธในเกาหลีและศาสนาพุทธในประเทศเวียดนามและพื้นที่ที่รับอิทธิพลจากพุทธศาสนามหายานแบบจีน โดยเป็นเทพเจ้าแห่งน้ำและเทพเจ้าแห่งฝน[1] โดยเทพเจ้าพญามังกรจีนมีสี่พระองค์ คือ จตุรเทพมังกร (Sihai Longwang 四海龍王 "สี่เทพมังกรประจำทะเลทั้งสี่") [2]

พญามังกร
จิตรกรรม เจ้าพญามังกร ณ สี่ทะเล ช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่สิบเก้า จัดแสดงพิพิธภัณฑ์บริติช
อักษรจีนตัวเต็ม
อักษรจีนตัวย่อ
ความหมายตามตัวอักษรเจ้าพญามังกร
เทพเจ้ามังกร
ชื่อภาษาจีนอื่น ๆ
อักษรจีนตัวเต็ม
อักษรจีนตัวย่อ
ความหมายตามตัวอักษรDragon God
วัดพญามังกร ณ ซานย่า มณฑลไหหลำ.

ในศิลปะและประติมากรรม แก้

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. Tom (1989), p. 55.
  2. Overmyer (2009), p. 20: "[...] Dragon Kings of the Four Seas, Five Lakes, Eight Rivers and Nine Streams (in sum, the lord of all the waters) [...]".

แหล่งที่มา แก้

  • Fowler, Jeanine D. (2005). An Introduction to the Philosophy and Religion of Taoism: Pathways to Immortality. Sussex Academic Press. ISBN 1845190866.[ลิงก์เสีย]
  • Nikaido, Yoshihiro (2015). Asian Folk Religion and Cultural Interaction. Vandenhoeck & Ruprecht. ISBN 978-3847004851.
  • Overmyer, Daniel L. (2009). Local Religion in North China in the Twentieth Century the Structure and Organization of Community Rituals and Beliefs (PDF). Leiden, South Holland; Boston, Massachusetts: Brill. ISBN 9789047429364. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-06-16. สืบค้นเมื่อ 2018-03-03.
  • Tom, K. S. (1989). Echoes from Old China: Life, Legends, and Lore of the Middle Kingdom. University of Hawaii Press. ISBN 0824812859.

  วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ พญามังกร