กระบะทราย 1

ตุรกี-อาเซอร์ไบจาน-เติร์กเมน แก้

พยัญชนะ แก้

พยัญชนะ
สัทอักษร รูปเขียน ใช้
     
ตุรกี อาเซอร์ไบจาน เติร์กเมน
b b b b
c k (+ e, i, ö, ü, â, û) k (+ e, i, ö, ü)
  • ตุรกี : ค, ก ดูที่ /k/ ([c] เป็นเสียงย่อยของหน่วยเสียง /k/ เมื่อตามด้วย e, i, ö, ü และเป็นหน่วยเสียง /c/ เมื่อตามด้วย â, û แต่บางครั้งออกเสียงเป็น [c] บางครั้งเป็น [kʲ] ไม่สม่ำเสมอขึ้นอยู่กับผู้พูด จึงใช้ ค, ก เพื่อลดความซับซ้อนในการถอดเสียง)
  • อาเซอร์ไบจาน : ค, ก ดูที่ /k/ (/c/ เป็นหน่วยเสียง แต่บางครั้งออกเสียงเป็น [c] บางครั้งเป็น [kʲ] ไม่สม่ำเสมอขึ้นอยู่กับผู้พูด จึงใช้ ค, ก เพื่อลดความซับซ้อนในการถอดเสียง)
ç h (h + e, i, ö, ü;
e, i, ö, ü + h ท้ายพยางค์/ท้ายคำ)[# 1]
k
  • ตุรกี : ฮ ([ç] เป็นเสียงย่อยของหน่วยเสียง /h/)
  • อาเซอร์ไบจาน : ค, ก ดูที่ /k/ ([ç] เป็นเสียงย่อยของหน่วยเสียง /c/ เนื่องจากในที่นี้ให้ถอดเสียง /c/ เป็น ค, ก จึงถอดเสียง [ç] เป็น ค, ก ตามไปด้วย)
d d d
d͡ʒ c c j
ð z
f f f
ɸ f
ɡ g (+ a, ı, o, u) q g (+ e, i, ö, ü)
ɟ g (+ e, i, ö, ü, â, û) g
  • ตุรกี : ก ([ɟ] เป็นเสียงย่อยของหน่วยเสียง /ɡ/ เมื่อตามด้วย e, i, ö, ü และเป็นหน่วยเสียง /ɟ/ เมื่อตามด้วย â, û แต่บางครั้งออกเสียงเป็น [ɟ] บางครั้งเป็น [ɡʲ] ไม่สม่ำเสมอขึ้นอยู่กับผู้พูด จึงใช้ ก เพื่อลดความซับซ้อนในการถอดเสียง)
  • อาเซอร์ไบจาน : ก (/ɟ/ เป็นหน่วยเสียง แต่บางครั้งออกเสียงเป็น [ɟ] บางครั้งเป็น [ɡʲ] ไม่สม่ำเสมอขึ้นอยู่กับผู้พูด จึงใช้ ก เพื่อลดความซับซ้อนในการถอดเสียง)
h h (+ a, ı, o, u)[# 1] h h (+ e, i, ö, ü) ฮ (ฮ–, –าฮ์, เ–ฮ์, ฯลฯ)
j y,
ğ[# 2]
y ý ย (ย–, –ัย, เ–ย์, –ีย์, เ–ย, ฯลฯ)
k k (+ a, ı, o, u),
g (ท้ายคำ ยกเว้นในคำยืมบางคำ)
k (+ a, ı, o, u / ในคำยืมจากภาษาอื่น),
g (ท้ายคำ ยกเว้นในคำยืมบางคำ)
k (+ e, i, ö, ü)
  • ตุรกี (และอาเซอร์ไบจาน) :
    - ก (เมื่ออยู่หน้าพยัญชนะอื่น,[# 1] เมื่อตามหลัง s ในพยางค์เดียวกัน)
    - ค (เมื่ออยู่หน้าสระหรืออยู่ท้ายคำ)[# 1]
  • เติร์กเมน : ก (ทุกตำแหน่ง)[# 3]
l l l l
ɫ l l[# 4]
m m m m
n n n n
ŋ n (+ k, g)[# 5] n (+ k, g, q)[# 5] ň[# 6]
p p,
b (ท้ายคำ ยกเว้นในคำยืมบางคำ)
p,
b (ท้ายคำ ยกเว้นในคำยืมบางคำ)
p
  • ตุรกี (และอาเซอร์ไบจาน) :
    - ป (เมื่ออยู่หน้าพยัญชนะอื่น,[# 1] เมื่อตามหลัง s ในพยางค์เดียวกัน)
    - พ (เมื่ออยู่หน้าสระหรืออยู่ท้ายคำ)[# 1]
  • เติร์กเมน : ป (ทุกตำแหน่ง)[# 7]
q k (+ a, o, u, y) ก ([q] และ [k] เป็นเสียงย่อยของหน่วยเสียงเดียวกัน)
ɾ r r r
ɣ ğ
ʁ g (+ a, o, u, y) ก ([ʁ] และ [g] เป็นเสียงย่อยของหน่วยเสียงเดียวกัน)
s s s ซ (ต้นพยางค์), ส (ท้ายพยางค์)
ʃ ş ş ş
t,
d (ท้ายคำ ยกเว้นในคำยืมบางคำ)
t,
d (ท้ายคำ ยกเว้นในคำยืมบางคำ)
t
  • ตุรกี (และอาเซอร์ไบจาน) :
    - ต (เมื่ออยู่หน้าพยัญชนะอื่น,[# 1] เมื่อตามหลัง s ในพยางค์เดียวกัน)
    - ท (เมื่ออยู่หน้าสระหรืออยู่ท้ายคำ)[# 1]
  • เติร์กเมน : ต (ทุกตำแหน่ง)[# 8]
t͡s ts[# 9] ซ, ตซ, ตส
t͡ʃ ç ç ç
θ s
v v v ว (ต้นพยางค์), ฟ (ท้ายพยางค์)
β w
x h (a, ı, o, u + h ท้ายพยางค์/ท้ายคำ)[# 1] x h (+ a, o, u, y)
  • ตุรกี : ฮ ([x] เป็นเสียงย่อยของ /h/)
  • อาเซอร์ไบจาน :
  • เติร์กเมน : ฮ ([h] และ [x] เป็นเสียงย่อยของหน่วยเสียงเดียวกัน)
z z z
ʒ j j ž

สระ แก้

สระ
สัทอักษร รูปเขียน ใช้[# 10]
     
ตุรกี อาเซอร์ไบจาน เติร์กเมน
ɑ a a a
  • พยางค์เปิดหรือพยางค์ปิดที่ตามด้วย h, r : –า
  • พยางค์ปิด : –ั
æ e (+ l, m, n, r
ในพยางค์เดียวกัน)
ə ä แ– (ตุรกี : perende [perændɛ] = เพรนแด)
ɛ e (ท้ายคำ) แ– (ตุรกี : perende [perændɛ] = เพแรนด)
e e (ตำแหน่งอื่น ๆ) e e เ– (ตุรกี : perende [perændɛ] = พแรนแด)
i i i i
  • พยางค์เปิดหรือพยางค์ปิดที่ตามด้วย h, r : –ี
  • พยางค์ปิด : –ิ
o o o o
  • พยางค์เปิด : โ–
  • พยางค์ปิด : –อ
ø ö ö ö
  • พยางค์เปิดหรือพยางค์ปิดที่ตามด้วย h, r : เ–อ
  • พยางค์ปิด : เ–ิ
u u u u
  • พยางค์เปิดหรือพยางค์ปิดที่ตามด้วย h, r : –ู
  • พยางค์ปิด : –ุ
ɯ ı ı y
  • พยางค์เปิดหรือพยางค์ปิดที่ตามด้วย h, r : –ือ
  • พยางค์ปิด : –ึ
y ü ü ü
  • พยางค์เปิดหรือพยางค์ปิดที่ตามด้วย h, r : –ือ
  • พยางค์ปิด : –ึ

ğ ในภาษาตุรกี[# 11] แก้

[aː]
[eː~ej]
[iː]
ığ [ɯː]
[oː]
[uː]
öğ [øː]
üğ [yː]
ağa [aː]
ığı [ɯː]
uğu [uː]
eğe [eje~eː]
iği [iː]
üğü [yjy~yː]
ağu [a.u~awu]
oğa [o.a~owa]
oğu [o.u~owu]
uğa [u.a~uwa]
öğe [øje]
öğü [øjy]
üğe [yje]
ağı [a.ɯ~aː~a*]
ığa [ɯ.a]
eği [eji~iː~e.i~æ*]
iğe [ije]
  • ในตำแหน่งท้ายพยางค์หรือท้ายคำ จะทำให้สระที่นำหน้ามีเสียงยาว เช่น dağ(lar) [daː(lar)] = ดา(ลาร์), sığ [sɯː] = ซือ; เมื่อตามหลังสระหน้า (e, i) อาจออกเสียงเป็น [j] แทน เช่น değnek [dejnec] = เดย์เนค
  • ระหว่างสระหลัง (a, ı, u) ตัวเดียวกัน จะไม่ออกเสียง เช่น sığınak [sɯːnak] = ซือนัค, uğur [uːr] = อูร์
  • ระหว่างสระหน้า (e, i, ü) ตัวเดียวกัน จะไม่ออกเสียง เช่น sevdiğim [sevdiːm] = เซฟดีม หรือออกเสียงเป็น [j]: düğün [dyjyn] = ดือยึน (จำเป็นต้องออกเสียง [j] แม้ในการพูดแบบเร็วเพื่อแยกให้ต่างจากคำว่า dün = ดึน)
  • ระหว่างสระปากกลม (o, ö, u, ü) ต่างเสียงกัน หรือระหว่างสระปากกลม (o, ö, u, ü) กับสระปากเหยียด (a, e) มักไม่ออกเสียง แต่บางครั้งอาจออกเสียงเป็น [w] เช่น soğuk [so.uk] โซอุก หรือ [sowuk] = โซวุก, soğan [so.an] = โซอัน หรือ [sowan] = โซวัน
  • ağı อาจออกเสียงเป็นสระสองตัวเรียงกันหรือออกเสียงเป็น a ยาว เช่น ağır [a.ɯr] = อาอือร์ หรือ [aːr] = อาร์
  • ığa ออกเสียงเป็นสระสองตัวเรียงกันเสมอ เช่น sığan [sɯ.an] = ซืออัน
  • ในรูปเขียน eği และ iğe อาจไม่ออกเสียงหรือออกเสียงเป็น [j] เหมือนสะกดด้วย y เช่น değil [dejil] = เดยิล, diğer [dijer] = ดีแยร์ ในการออกเสียงแบบไม่เป็นทางการ eği อาจกลายเป็น i ยาว เช่น değil [diːl] = ดีล
  • eği และ ağı ในหน่วยคำเติมหลังแสดงอนาคตกาล -(y)AcAK- ออกเสียงแบบเป็นทางการว่า [e.i]/[a.ɯ] และแบบไม่เป็นทางการว่า [æ]/[a] เช่น seveceğim [seveˈdʒe.im] = เซเวเจอิม หรือ [seviˈdʒæm] = เซวีแจม; yazacağım [jazaˈdʒa.ɯm] = ยาซาจาอึม หรือ [jazɯˈdʒam] = ยาซือจัม

พยางค์ แก้

  • พยัญชนะตัวเดียวอยู่ระหว่างสระ ให้พยัญชนะตัวนั้นเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ที่ตามมา เช่น karaca --> ka-ra-ca
  • พยัญชนะ 2 ตัวอยู่ระหว่างสระ ให้พยัญชนะตัวแรกเป็นพยัญชนะท้ายของพยางค์ที่นำหน้า และให้พยัญชนะตัวที่สองเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ที่ตามมา เช่น aldı, birlik, sevmek, Şabran --> al-dı, bir-lik, sev-mek, Şab-ran (ในภาษาตุรกี-อาเซอร์ไบจาน พยัญชนะต้นพยางค์จะเป็นพยัญชนะควบไม่ได้ ยกเว้นในคำยืม)
  • พยัญชนะ 3 ตัวอยู่ระหว่างสระ ให้พยัญชนะสองตัวแรกเป็นพยัญชนะท้ายของพยางค์ที่นำหน้า และให้พยัญชนะตัวที่สามเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ที่ตามมา เช่น altlık, Türkçe --> alt-lık, Türk-çe
  • คำยืมจากภาษาอื่น ให้แบ่งพยางค์ตามการแบ่งพยางค์ในภาษาตุรกี-อาเซอร์ไบจาน เช่น program --> prog-ram (ไม่แบ่งเป็น pro-gram)
  • สระ 2 ตัวเรียงกัน ให้ถอดเสียงแยกกัน
  • สระตัวเดียวกันซ้อนกัน 2 ตัว ในภาษาพูดอาจออกเสียงเป็นสระเดี่ยวเสียงยาว แต่ตามหลักให้ออกเสียงแยกกัน จึงถอดเสียงแยกกันคนละพยางค์ เช่น taarruz --> ta-ar-ruz = ทร์รุซ, fiil --> fi-il = ฟีอิ
เชิงอรรถและอ้างอิง
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 Göksel, Aslı and Kerslake, Celia. (2005). Turkish: A Comprehensive Grammar.
  2. In Turkish, the letter ğ (yumuşak g, "soft g") sometimes gives the j sound between front vowels but it mostly lengthens the preceding vowel.
  3. Clark, Larry. (1998). Turkmen Reference Grammar: The voiceless velar stop /k/ is pronounced as English 'k' in 'ski' and occurs in all positions of a word.
  4. In Schöning, Claus. "Turkmen". The Turkic Languages. Lars Johanson and Éva Á. Csató, eds. London: Routledge, 1998. pg. 262
  5. 5.0 5.1 หากตามหลัง k ที่ออกเสียง [c] อย่างชัดเจน หรือตามหลัง g ที่ออกเสียง [ɟ] อย่างชัดเจน จะถูกกลืนเสียงเป็น [nʲ~ɲ]
  6. Clark, Larry. (1998). Turkmen Reference Grammar: The velar nasal stop /ŋ/ occurs only within or at the end of a word.
  7. Clark, Larry. (1998). Turkmen Reference Grammar: The voiceless bilabial stop /p/ is pronounced as English 'p' in 'spin' and occurs in all positions of a word.
  8. Clark, Larry. (1998). Turkmen Reference Grammar: The voiceless dental stop /t/ is pronounced similarly to English 't' in 'steep'. This consonant occurs in all positions of a word.
  9. Only found in Russian loanwords. In Schöning, Claus. "Turkmen". The Turkic Languages. Lars Johanson and Éva Á. Csató, eds. London: Routledge, 1998. pg. 261.; Clark, Larry. (1998). Turkmen Reference Grammar: Generally, however, Turkmen approximate the affricate /ts/ as /θ/ (/tsirk/ > /θirk/ 'circus', /sement/ > /θement/ 'cement'.)
  10. บางพยางค์อาจออกเสียงสระยาวได้แม้เป็นพยางค์ปิด (โดยเฉพาะในคำยืมจากภาษาอาหรับและเปอร์เซีย) แต่โดยปกติมักไม่มีเครื่องหมายบ่งบอกสระเสียงยาวในชุดตัวอักษรโรมัน ในที่นี้จึงถอดเสียงโดยใช้รูปสระสั้นเสมอเมื่อเป็นพยางค์ปิด
  11. Göksel, Aslı; Kerslake, Celia (2005). Turkish: A Comprehensive Grammar. Routledge. pp. 7–8.

คาซัค แก้

  • คำที่ยืมจากภาษารัสเซียหรือได้รับอิทธิพลจากการออกเสียงในภาษารัสเซีย บางคำอาจออกเสียงไม่ตรงตามรูปเขียน ควรถอดเสียงตามการออกเสียงของคำนั้น
  • เสียงพยัญชนะและสระบางเสียงอาจแปรเป็นเสียงอื่นได้อีกขึ้นอยู่กับบริบท หากเสียงแปรนั้นเกิดขึ้นอย่างไม่สม่ำเสมอ ไม่ส่งผลต่อความหมาย และไม่ใช่เสียงที่มีในภาษาไทย จะไม่นำมาพิจารณาในที่นี้

พยัญชนะ แก้

อักษรโรมัน
(พ.ศ. 2561)
อักษรซีริลลิก เสียง ใช้ ตัวอย่าง
b б
  • b (โดยทั่วไป)
  • p (เมื่ออยู่ท้ายคำ)[# 1]
  • บ (โดยทั่วไป)
  • ป (เมื่ออยู่ท้ายคำ)
  • balyq / балық [bɑˈləq]  =  าเลิก
  • Aqtóbe / Ақтөбе [ɑqtœˈbʲɘ]  =  อักเตอเบี
ch ч t͡ɕ~t͡ʃ
  • chalý / чалу [t͡ɕɑˈlʊw]  =  าลูว์
  • chempion / чемпион   =  เชียมปีโยน
d д
  • d (โดยทั่วไป)
  • t (เมื่ออยู่ท้ายคำ)[# 1]
  • ด (โดยทั่วไป)
  • ต (เมื่ออยู่ท้ายคำ)
  • dıirmen / диірмен [dɘjɘrˈmʲɘn]  =  ดียือร์เมียน
  • ddyly / дағдылы [ddəˈlə]  =  ดัฆเอเลอ
f ф f
  • fabrıka / фабрика [fɑbrɘjˈkɑ]  =  าบรีย์กา
  • bufet / буфет [bʊwˈfʲɘt]  =  บูว์เฟียต
g г ɡ
  • gazet / газет [ɡɑˈzʲɘt]  =  าเซียต
  • gúlder / гүлдер [ɡʉlˈdʲɘr]  =  กึลเดียร์
  • segiz / сегіз [sʲɘˈɡɘz]  =  เซียกึ
ǵ ғ ʁ~ɣ
  • ǵylym / ғылым [ʁəˈləm]  =  เอเลิม
  • shyǵý / шығу [ʃəˈʁʊw]  =  เชอฆูว์
  • Talǵar / Талғар [tɑlˈʁɑr]  =  ตัลาร์
h х x~χ
  • halyq / халық [xɑˈləq]  =  าเลิก
  • barhan / бархан [bɑrˈхɑn]  =  บาร์ฆั
  • rahmet / рахмет [rɑxˈmʲet]  =  รัเมียต
һ h
  • haz / жиһаз [ʒɘjˈhɑz]  =  ฌีย์ฮั
  • gaýhar / гауһар [ɡɑwˈhɑr]  =  เกาาร์
ı
й
j
  • ıogýrt / йогурт  =  โกูร์ต
  • Jaıyq / Жайық [ʒɑˈjəq]  =  ฌาเยิ
  • naızaǵaı / найзағай [nɑjzɑˈʁɑj]  =  นัซาฆั
  • ılek / ләйлек [læjˈlʲɘk]  =  แลย์เลียก
j ж ʒ[# 2]
  • jaqsy / жақсы [ʒɑqˈsə]  =  ฌักเซอ
  • jer / жер [ʒʲɘr]  =  เฌียร์
  • ajdaha / аждаһа ʒdɑˈhɑ]  =  อัดาฮา
k к k
  • kóbelek / көбелек [kœbʲɘˈlʲɘk]  =  เอเบียเลีย
  • kitap / кітап [kɘˈtɑp]  =  กือตัป
  • ktir / лөктір [lœkˈtɘr]  =  เลิตือร์
l л l
  • lalagúl / лалагүл [lɑlɑˈɡʉl]  =  ากึ
  • shilde / шілде [ʃɘlˈdʲɘ]  =  ชึเดีย
m м m
  • Mańǵystaý / Маңғыстау  =  มังเฆิสเตา
  • limon / лимон [lɘjˈmon]  =  ลีย์โ
  • sálem / сәлем [sæˈlʲɘm]  =  แซเลีย
n н
  • n (โดยทั่วไป)
  • m (เมื่อตามหลังพยัญชนะริมฝีปาก)
  • ŋ (เมื่อตามหลังพยัญชนะเพดานอ่อน)
  • น (โดยทั่วไป)
  • ม (เมื่อตามหลังพยัญชนะริมฝีปาก)
  • ง (เมื่อตามหลังพยัญชนะเพดานอ่อนหรือลิ้นไก่)
  • naýryz / наурыз [nɑwˈrəz]  =  เาเริซ
  • nan / нан [nɑn]  =  นัน
  • ngi / түнгі [tʉŋˈɡɘ]  =  ตึเกอ
ń ң ŋ
  • ońaı / оңай [ʷɤˈŋɑj]  =  โวงั
  • qońyz / қоңыз [q͡χoˈŋəz]  =  โฆเงิ
  • ańshy / аңшы ŋˈʃə]  =  อัเชอ
  • myń / мың [məŋ]  =  เมิ
p п p
  • pil / піл [pɘl]  =  ปึ
  • kirpi / кірпі [kɘrˈpɘ]  =  กือร์เ
  • dop / доп [dop]  =  โด
q қ
  • q͡χ (เมื่ออยู่ต้นคำ)[# 3]
  • q (เมื่ออยู่ในตำแหน่งอื่น)[# 4]
  • ฆ (เมื่ออยู่ต้นคำ)
  • ก (เมื่ออยู่ในตำแหน่งอื่น)
  • qazaq / қазақ [q͡χɑˈzɑq]  =  าซั
  • qumyrsqa / құмырсқа [q͡χʊmərsˈqɑ]  =  ฆูเมิร์ส
r р r~ɾ
  • raýan / рауан [rɑˈwɑn]  =  าวัน
  • ǵaryshker / ғарышкер [ʁɑrəʃˈkʲɘr]  =  ฆาเริชเกียร์
s с s
  • ซ (เมื่ออยู่ต้นพยางค์)
  • ส (เมื่ออยู่ท้ายพยางค์)
  • sarymsaq / сарымсақ [sɑrəmˈsɑq]  =  าเริมซั
  • qus / құс [q͡χʊs]  =  ฆุ
  • tasbaqa / тасбақа [tɑsbɑˈqɑ]  =  ตับากา
sh ш ʃ~ʂ~ɕ
  • shańǵy / шаңғы  =  ชังเฆอ
  • aǵash / ағаш [ɑˈʁɑʃ]  =  อาฆั
  • mólsher / мөлшер [mœlˈʃʲɘr]  =  เมิลเชียร์
shch/şş щ[# 5] ɕː
  • ...
t т t
  • turǵyn / тұрғын [tʊrˈʁən]  =  ตูร์เฆิน
  • етік [jɘˈtɘk]  =  เยตึ
  • tórt / төрт [tœrt]  =  เติร์
ts ц[# 5] t͡s ซ, ตซ, ตส
  • tsirk / цирк [t͡sɘrk]  =  ซืร์ก
v в v
  • ว (เมื่ออยู่ต้นพยางค์)
  • ฟ (เมื่ออยู่ท้ายพยางค์)
  • vagon / вагон [vɑˈɡon]  =  าโกน
ý
у
w
  • ýaqyt / уақыт [wɑˈqət]  =  าเกิต
  • ýir / сәуір [sæˈwɘr]  =  แซวือร์
  • taý / тау [tɑw]  =  เตา (ตะ+)
z з z
  • Zaısan / Зайсан [zɑjˈsɑn]  =  ซัยซัน
  • zdik / сөздік [sœzˈdɘk]  =  เซิดึก
  • segiz / сегіз [sʲɘˈɡɘz]  =  เซียกึ

สระ แก้

อักษรโรมัน
(พ.ศ. 2561)
อักษรซีริลลิก เสียง ใช้ ตัวอย่าง
a а ɑ
  • –า (เมื่อเป็นพยางค์เปิดหรือเป็นพยางค์ปิดที่ตามด้วย r)
  • –ั (เมื่อเป็นพยางค์ปิด)
  • alma / алма [ɑlˈmɑ]  =  อัลม
  • aspan / аспан [ɑsˈpɑn]  =  อัปั
á ә æ แ–
  • átesh / әтеш [æˈtʲɘʃ]  =  อเตียช
  • ıá / иә [ɘˈjæ]  =  อี
  • dán / дән [dæn]  =  ดน
e e
  • jɘ~je (เมื่ออยู่ต้นคำ)[# 6]
  • ʲɘ~ʲe~i̯ɘ~e (เมื่ออยู่ในคำ)
  • เย(–) (เมื่ออยู่ต้นคำ)
  • เ–ีย (เมื่ออยู่ในคำ)
  • emen / емен [ˈmʲɘn]  =  เยเมีย
  • tekemet / текемет [tʲɘkʲɘˈmʲɘt]  =  เตียเกียเมีย
e э[# 5] e เ–
  • ekran / экран  =  อกรัน
ı
и
ɘj~əj~ɯi~ɪj~ij
  • –ีย์ (เมื่อเป็นพยางค์เปิดและไม่มีสระตามมา)
  • –ีย (เมื่อเป็นพยางค์เปิดและมีสระตามมา)
  • –ิ (เมื่อเป็นพยางค์ปิด)
  • ýnıversıtet / университет  =  อูว์นีย์เวียร์ซีย์เตียต
  • radıo / радио [rɑdɘˈjo]  =  ราดี
  • sıyr / сиыр [sɘˈjər]  =  ซีอร์
  • ıt / ит [ɘjt]  =  อิ
i i ɘ~ɪ
  • –ือ (เมื่ออยู่ในคำและเป็นพยางค์เปิดหรือเป็นพยางค์ปิดที่ตามด้วย r)
  • –ึ (เมื่ออยู่ในคำเมื่อเป็นพยางค์ปิด)
  • เ–อ (เมื่ออยู่ท้ายคำ)
  • irimshik / ірімшік [ɘrɘmˈʃɘk]  =  อือรึชึ
  • bizdiń / біздің [bɘzˈdɘŋ]  =  บึดึ
  • izgi / ізгі [ɘzˈɡɘ]  =  อึ
  • kirpi / кірпі [kɘrˈpɘ]  =  กือร์
o о
  • ʷɤ~ʷo~u̯o~u̯ʊ (เมื่ออยู่ต้นคำ)
  • o (เมื่ออยู่ในคำ)
  • โว– (เมื่ออยู่ต้นคำ)
  • โ– (เมื่ออยู่ในคำ)
  • oryndyq / орындық [ʷɤrənˈdəq]  =  โวเรินเดิก
  • ońtústik / оңтүстік [ʷɤŋtʉsˈtɘk]  =  โวงตึสตึก
  • jolbarys / жолбарыс olbɑˈrəs]  =  ฌลบาเริส
  • Qordaı / Қордай [q͡χоrˈdɑj]  =  ฆร์ดัย
ó ө
  • ʷɜ~ʷœ~ʷʉ~y̯ʉ (เมื่ออยู่ต้นคำ)
  • œ~ø (เมื่ออยู่ในคำ)
  • วือ (เมื่ออยู่ต้นคำและเป็นพยางค์เปิด)
  • วึ– (เมื่ออยู่ต้นคำและเป็นพยางค์ปิด)
  • เ–อ (เมื่ออยู่ในคำและเป็นพยางค์เปิด)
  • เ–ิ (เมื่ออยู่ในคำและเป็นพยางค์ปิด)
  • órik / өрік [ʷɜˈrɘk]  =  วือรึก
  • Óskemen / Өскемен [ʷɜskʲɘˈmʲɘn]  =  วึสเกียเมียน
  • kórikti / көрікті [kœrɘkˈtɘ]  =  รึกเตอ
  • sózdik / сөздік [sœzˈdɘk]  =  เซิซดึก
u ұ ʊ~u
  • –ู (เมื่อเป็นพยางค์เปิดหรือเป็นพยางค์ปิดที่ตามด้วย r)
  • –ุ (เมื่อเป็นพยางค์ปิด)
  • shubat / шұбат ʊˈbɑt]  =  ชูบัต
  • quıryq / құйрық [q͡χʊjˈrəq]  =  ฆุยเริก
ú ү ʉ~y
  • –ือ (เมื่อเป็นพยางค์เปิดหรือเป็นพยางค์ปิดที่ตามด้วย r)
  • –ึ (เมื่อเป็นพยางค์ปิด)
  • Úrker / Үркер [ʉrˈkʲɘr]  =  อือร์เกียร์
  • júz / жүз ʉz]  =  ฌึ
  • úırek / үйрек [ʉjˈrʲɘk]  =  อึยเรียก
y ы ə~ɯ
  • เ–อ (เมื่อเป็นพยางค์เปิดหรือเป็นพยางค์ปิดที่ตามด้วย r)
  • เ–ิ (เมื่อเป็นพยางค์ปิด)
  • ydys / ыдыс [əˈdəs]  =  อเดิ
  • qymyz / қымыз [q͡χəˈməz]  =  อเมิ
  • qyylt / қызғылт [q͡χəzˈʁəlt]  =  เฆิเฆิลต์
ý
у
ʊw~uw~ʉw~ɘw~yw[# 7]
  • –ูว์ (เมื่อเป็นพยางค์เปิดและไม่มีสระตามมา)
  • –ูว (เมื่อเป็นพยางค์เปิดและมีสระตามมา)
  • –ุ (เมื่อเป็นพยางค์ปิด)
  • –ู (เมื่อเป็นพยางค์ปิดที่ตามด้วย r)
  • ýqalaý / уқалау [ʊwqɑˈlɑw]  =  อูว์กาเลา
  • Jetisý / Жетісу [ʒʲɘtɘˈsʊw]  =  เฌียตือซูว์
  • sýyk / суық [sʊˈwəq]  =  ซูวิ
  • fýtbol / футбол  =  ฟุตโบล
  • ıogýrt / йогурт  =  โยกูร์ต
ıa я
  • –ยา (เมื่อเป็นพยางค์เปิดหรือเป็นพยางค์ปิดที่ตามด้วย r)
  • –ยั– (เมื่อเป็นพยางค์ปิด)
  • qoıan / қоян [q͡χoˈn]  =  โฆยั
  • ıaz / пияз [pɘˈz]  =  ปียั
  • ...
ıo ё jo
  • –โย / –ีโย
  • ...
ıý ю jʊw~jʉw~ju~jy
  • –ยูว์
  • aıý / аю [ɑˈjʊw]  =  อายูว์
  • ...
เชิงอรรถและอ้างอิง
  1. 1.0 1.1 Lars Johanson, Éva Á. Csató. (1998). The Turkic Languages.: The opposition /b/ vs. /p/ is neutralised in initial and final position, whereas the opposition /d/ vs. /t/ and /ɡ/ vs. /k/ are neutralised in the final position. อย่างไรก็ตาม ในภาษาคาซัคมีคำที่ลงท้ายด้วย b และ d น้อยมาก และส่วนมากเป็นคำยืมจากภาษาอื่น
  2. ในภาคใต้และภาคตะวันออกของคาซัคสถาน รวมถึงในชุมชนที่พูดภาษาคาซัคในอุซเบกิสถานและจีน ออกเสียงพยัญชนะนี้เป็น [d͡ʒ] http://slaviccenters.duke.edu/sites/slaviccenters.duke.edu/files/file-attachments/kazakh-grammar.pdf
  3. http://slaviccenters.duke.edu/sites/slaviccenters.duke.edu/files/file-attachments/kazakh-grammar.pdf
  4. Lars Johanson, Éva Á. Csató. (1998). The Turkic Languages. ระบุว่า q ออกเสียง [χ] เมื่ออยู่หลัง a แต่ไม่ระบุว่า q จะออกเสียงดังกล่าวเมื่ออยู่ระหว่าง a กับสระตัวอื่นหรือไม่ ในที่นี้จึงไม่นำเสียง [χ] มาพิจารณา
  5. 5.0 5.1 5.2 ในชุดตัวอักษรโรมันที่รัฐบาลคาซัคสถานประกาศใช้เมื่อ พ.ศ. 2560 และ พ.ศ. 2561 ไม่ปรากฏอักษรโรมันสำหรับถ่ายอักษรซีริลลิกตัวนี้
  6. Lars Johanson, Éva Á. Csató. (1998). The Turkic Languages. ระบุว่า การแทรกเสียง [j] หน้าสระ e ในตำแหน่งต้นคำไม่ได้เป็นอิทธิพลจากภาษารัสเซีย เพราะพบในภาษาคาซัคที่ใช้ในจีนเช่นกัน เพียงแต่การแทรกเสียงเช่นนี้จะยิ่งเด่นชัดขึ้นในกลุ่มผู้พูดสองภาษา (คาซัคและรัสเซีย)
  7. บางแหล่งระบุว่าออกเสียงเป็น [uw] หรือ [yw] ขึ้นอยู่กับสัทลักษณะของสระตัวอื่นในคำเดียวกัน ในที่นี้ใช้สัญลักษณ์ [ʊw] และถอดเสียงโดยใช้รูปสระอุ/อูในทุกกรณีเพื่อลดความซับซ้อน

คีร์กีซ แก้

1. к

1.1. เมื่ออยู่หน้าหรือหลังสระหน้า (э, и, ө, ү) ออกเสียง [k] ก
1.2 เมื่ออยู่หน้าหรือหลังสระหลัง (а, ы, о, у) ออกเสียง [q] ก (เช่น кыргыз [qɯrˈɢɯz])
1.3 เมื่ออยู่ระหว่างสระหลัง (а, ы, о, у) ออกเสียง [χ] ฆ

2. г

2.1 เมื่ออยู่หน้าหรือหลังสระหน้า (э, и, ө, ү) ออกเสียง [g] ก
2.2 เมื่ออยู่ระหว่างสระหน้า (э, и, ө, ү) ออกเสียง [ɣ] ฆ
2.3 เมื่ออยู่หน้าหรือหลังสระหลัง (а, ы, о, у) ออกเสียง ก/ฆ [ɢ~ʁ] (เช่น кыргыз [qɯrˈɢɯz])
2.4 เมื่ออยู่ระหว่างสระหลัง (а, ы, о, у) ออกเสียง [ʁ] ฆ

3. ң

3.1 เมื่ออยู่หน้าหรือหลังสระหน้า (э, и, ө, ү) ออกเสียง [ŋ]
3.2 เมื่ออยู่หน้าหรือหลังสระหลัง (а, ы, о, у) ออกเสียง [ɴ]

4. ю เมื่ออยู่ระหว่างสระหน้า (э, и, ө, ү) ออกเสียง [jy]