ผู้ใช้:Dora1999/กระบะทรายส่วนตัว

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อาทิตย์อุทัย
ไฟล์:1st Class Grand Cordon Order of the Rising Sun.jpg เครื่องราชอิสริยาภรณ์อาทิตย์อุทัย ชั้นสูงสุด
ประเภทสายสะพายห้อยดวงตราและดารา (ชั้นอื่นๆ?)
วันสถาปนา10 เมษายน พ.ศ. 2418
ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ผู้สมควรได้รับนักการเมือง ทหาร พระบรมวงศานุวงศ์
มอบเพื่อรับราชการเป็นเวลานานและมีความดีความชอบ
สถานะยังพระราชทาน
ผู้สถาปนาสมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ
ลำดับเกียรติ
สูงกว่าเครื่องราชอิสริยาภรณ์ดอกเบญจมาศ

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อาทิตย์อุทัย สถาปนาขึ้นโดยสมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ เมื่อ 10 เมษายน พ.ศ. 2418 (กำลังแปลจากภาคภาษาอังกฤษ)

{{{ชื่อไทย}}}
({{{ชื่อในภาษาแม่}}})
อักษรย่อ {{{อักษรย่อ}}}
ประเทศ {{{ประเทศ}}}
ข้อมูลทั่วไป
วันสถาปนา {{{วันสถาปนา}}}
ผู้สถาปนา {{{ผู้สถาปนา}}}
ประธาน {{{ประธาน}}}
ประเภท {{{ประเภท}}}
สถานะ {{{สถานะ}}}
ผู้สมควรได้รับ {{{ผู้สมควรได้รับ}}}
มอบเพื่อ {{{ความชอบ}}}
ล้มเลิก {{{ล้มเลิก}}}
สถิติการมอบ
จำนวนสำรับ {{{จำนวนสำรับ}}}
รายแรก {{{รายแรก}}}
รายล่าสุด {{{รายล่าสุด}}}
ทั้งหมด {{{ทั้งหมด}}}
ได้รับหลังถึงแก่กรรม {{{ได้รับหลังถึงแก่กรรม}}}
ลำดับเกียรติ
สูงกว่า {{{สูงกว่า}}}
เสมอ {{{เสมอ}}}
รองมา {{{รองมา}}}
หมายเหตุ {{{หมายเหตุ}}}

เหรียญราชนิยม (อังกฤษ: The Rajaniyom Medal) ใช้อักษรย่อว่า ร.น. เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์ที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อพ.ศ. 2455 ปัจจุบันพ้นสมัยพระราชทาน[1]

ประวัติ แก้

  • พ.ศ. 2455 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงตรา "พระราชบัญญัติเหรียญราชนิยม รัตนโกสินทร์ศก 131" ขึ้น
  • พ.ศ. 2484 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลได้ทรงยกเลิกพระราชบัญญัติเหรียญราชนิยม รัตนโกสินทร์ศก 131 และทรงตรา "พระราชบัญญัติเหรียญราชนิยม พุทธศักราช 2484" ขึ้นแทน[2]

ลักษณะ แก้

เหรียญราชนิยม มีลักษณะเป็นเหรียญเงินรูปกลม[2]

ด้านหน้า เป็นพระบรมรูปของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ด้านหลัง มีอักษรจารึกว่า "ทรงพระราชนิยมพระราชทาน"

มีห่วงห้อยกับแพรแถบสีดำและสีเหลือง ขนาดกว้าง 3 เซนติเมตร บุรุษใช้กลัดอกเสื้อด้านซ้าย สตรีใช้ผูกเป็นรูปแมลงปอประดับที่อกเสื้อด้านซ้ายเช่นกัน

การพระราชทานและการเรียกคืน แก้

การพระราชทานและการเรียกคืน มีกฎเกณฑ์ดังนี้

  1. การพระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบ มี 2 กรณี คือ ไปช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ให้เป็นประโยชน์สำคัญ แสดงให้เห็นถึงการที่ผู้นั้นเต็มใจและปรารถนาที่จะแสดงหน้าที่พลเมืองดี และช่วยเหลือผู้อืนให้พ้นจากภัยอันตราย

อ้างอิง แก้

  1. เครื่องราชชอิสริยาภรณ์ไทย เหรียญราชนิยม โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
  2. 2.0 2.1 พระราชบัญญัติเหรียญราชนิยม พุทธศักราช 2484