บทความเพลง

ไอวิลออลเวย์เลิฟยู (en:I Will Always Love You)

"ไอวิลออลเวย์เลิฟยู (I Will Always Love You)"
เพลงโดยดอลลี พาร์ตัน
จากอัลบั้มJolene
วางจำหน่าย6 มิถุนายน พ.ศ. 2517
บันทึกเสียง13 มิถุนายน พ.ศ. 2516
แนวเพลงคันทรี
ความยาว2:53
ค่ายเพลงอาร์ซีเอเรคเคิดส์
ผู้ประพันธ์เพลงดอลลี พาร์ตัน
โปรดิวเซอร์บ็อบ เฟอร์กูสัน
"ไอวิลออลเวย์เลิฟยู (I Will Always Love You)"
เพลงโดยวิตนีย์ ฮิวสตัน
จากอัลบั้มThe Bodyguard : Original Soundtrack Album
วางจำหน่าย3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2535
บันทึกเสียงเมษายน พ.ศ. 2535
แนวเพลงโซล  • อาร์แอนด์บี  • ป๊อป  • แจ๊ส
ความยาว4:31
ค่ายเพลงอาริสตา
ผู้ประพันธ์เพลงดอลลี พาร์ตัน
โปรดิวเซอร์เดวิด ฟอสเตอร์

ไอวิลออเวย์เลิฟยู (อังกฤษ: I will always love you) เป็นผลงานซิงเกิล ของดอลลี พาร์ตัน ได้ประพันธ์และบันทึกเสียงไว้เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2516[1] และวางหน่ายเมื่อปี พ.ศ. 2517 ภายใต้สังกัดอาร์ซีเอเรคเคิดส์ ซึ่งได้ติดอันดับชาร์ตใน Billboard Hot Country Songs ถึงสองครั้ง ครั้งแรกในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2517 และครั้งที่ 2 ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2525

ต่อมาในวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2535 วิตนีย์ ฮิวสตัน ได้นำไปขับร้องใหม่ภายใต้สังกัดอริสตาเรคเคิดส์ (อังกฤษ: Arista) ในชื่ออัลบั้ม The Bodyguard : Original Soundtrack Album ซึ่งเป็นอัลบั้มเพลงประกอบภาพยนตร์ The Bodyguard ซึ่งฮิวสตันร่วมแสดงด้วย

ไอวิลออลเวย์เลิฟยู ในฉบับของฮิวสตัน ทำให้เธอเป็นที่รู้จักและมีชื่อเสียงโด่งดังอย่างมากภายใน 14 สัปดาห์ โดยติดอันดับชาร์ต Billoboard Hot 100.[2][3] และถือว่า ไอวิลออลเวย์เลิฟยู ในฉบับของฮิวสตันนั้น จัดเป็นซิงเกิลที่ขายดีที่สุดตลอดกาลของสหรัฐอเมริกาอีกด้วย[4][5]

ชาร์ต
ฉบับของดอลลี พาร์ตัน
ชาร์ตประจำสัปดาห์ (2517) อันดับชาร์ต
Canada Country Tracks (RPM)[6] 4
US Hot Country Songs (Billboard)[7] 1
ชาร์ตประจำสัปดาห์ (2525)
Australia (Kent Music Report)[8] 72
Canada Top Singles (RPM)[6] 8
Canada Adult Contemporary (RPM)[9] 1
Canada Country Tracks (RPM)[6] 1
US Billboard Hot 100[10] 53
US Adult Contemporary (Billboard)[11] 17
US Hot Country Songs (Billboard)[7] 1
ชาร์ตประจำสัปดาห์ (2538)
Canada Country Tracks (RPM)[6] 22
US Hot Country Songs (Billboard)[7] 15
ฉบับของวิตนีย์ ฮิวสตัน
ชาร์ตในต่างประเทศ (นอกจากสหรัฐอเมริกา)
ชาร์ตประจำสัปดาห์ (2535-36) Peak
position
ออสเตเรีย (ARIA) 1
ออสเตรีย (Ö3 Austria Top 40) 1
เบลเยียม (VRT Top 30) 1
แคนาดา (RPM)[12] 1
เดนมาร์ก (IFPI)[13] 1
ทวีปยุโรป (European Hot 100)[14] 1
ฟินแลนด์ (Suomen virallinen lista)[15] 2
ฝรั่งเศส (SNEP) 1
เยอรมนี (Media Control Charts) 1
กรีซ (Pop + Rock)[16] 2
ไอซ์แลนด์ (Íslenski Listinn Topp 40)[17] 1
ไอร์แลนด์ (IRMA) 1
อิตาลี (Musica e dischi) 1
ญี่ปุ่น (Oricon Charts)[18][19] 5
เนเธอร์แลนด์ (Dutch Top 40) 1
Netherlands (Single Top 100)[20] 1
นิวซีแลนด์ (RIANZ) 1
นอร์เวย์ (VG-lista) 1
โปรตุเกส (AFP)[21] 1
สเปน (AFYVE)[22] 1
สวีเดน (Sverigetopplistan) 1
สวิตเซอร์แลนด์ (Schweizer Hitparade) 1
UK Singles (OCC)[23] 1
US Billboard Hot 100[24] 1
US Adult Contemporary (Billboard)[25] 1
US Hot R&B/Hip-Hop Songs (Billboard)[26] 1
US Mainstream Top 40 (Billboard)[27] 1
US Rhythmic (Billboard)[28] 1
ซิมบับเว (ZIMA)[29] 1
การติดอันดับใน Billoboard Hot 100
ปี ประเภท ชื่อรายการจัดอันดับ ประเภท อ้างอิง
2541 Billboard 40 Years of the Top 40 10 อันดับเพลงที่นำกลับมาทำใหม่/ขับร้องใหม่ 2 [30]
10 อันดับเพลง "รัก" ยอดเยี่ยม 2 [30]
100 อันด้บเพลงดัง 4 ศตวรรษ 6 [31]
10 อันดับเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม 1 [32]
เพลงฮิตประจำสัปดาห์อันดับ 1 (ภายใน 14 สัปดาห์) 2 [32]
2551 Billboard Hot 100 50th Anniversary อันดับเพลงฮิตตลอดกาล 68 [33]
เพลงอาร์แอนด์บี และป็อป ยอดฮิตตลอดกาล 27 [34]
100 อันดับเพลงฮิตตลอดกาล - 2538 1 [35]
2556 Billboard Hot 100 55th Anniversary อันดับเพลงฮิตตลอดกาล 49 [36]
เพลงอาร์แอนด์บี และป็อป ยอดฮิตตลอดกาล 27 [37]
100 อันดับเพลงฮิตตลอดกาล - 2538 1 [38]
อ้างอิง
  1. "I Will Always Love You by Dolly Parton Songfacts". www.songfacts.com. สืบค้นเมื่อ 2016-11-12.
  2. Billboard Hot 100 Singles chart listing for the week of November 28, 1992. Billboard. November 28, 1992. สืบค้นเมื่อ September 24, 2010. {{cite book}}: ไม่อนุญาตให้ใช้มาร์กอัปตัวเอียงหรือตัวหนาใน: |publisher= (help)
  3. Fred Bronson (November 19, 1994). Chart Beat: Another Lucky 13 For Boyz II Men. Billboard. สืบค้นเมื่อ September 25, 2010. {{cite book}}: ไม่อนุญาตให้ใช้มาร์กอัปตัวเอียงหรือตัวหนาใน: |publisher= (help)
  4. "Ask Billboard: Is 'I Will Always Love You' the Most Enduring Hit of the Rock Era?". Billboard. สืบค้นเมื่อ 2016-11-12.
  5. Kaufman, Gil (2012-02-12). "Whitney Houston's Musical Legacy, By The Numbers". MTV (MTV Networks). สืบค้นเมื่อ 2012-06-23.
  6. 6.0 6.1 6.2 6.3 "Introduction – RPM – Library and Archives Canada". Collectionscanada.gc.ca. สืบค้นเมื่อ 2014-03-31.
  7. 7.0 7.1 7.2 Overall Popularity Top. "Charts". Billboard. สืบค้นเมื่อ 2014-03-31.
  8. Kent, David (2006). Australian Chart Book: 1993–2005. Australian Chart Book. p. 282. ISBN 0-646-45889-2. สืบค้นเมื่อ 2009-07-02.
  9. "Item Display - RPM - Library and Archives Canada". Collectionscanada.gc.ca. 1982-10-30. สืบค้นเมื่อ 2018-02-19.
  10. "Dolly Parton Chart History (Hot 100)". Billboard. สืบค้นเมื่อ April 23, 2017.
  11. "Dolly Parton Chart History (Adult Contemporary)". Billboard. สืบค้นเมื่อ April 23, 2017.
  12. "Canadian RPM Top 100 Singles Chart listing for the week of December 19, 1992". RPM. December 19, 1992. สืบค้นเมื่อ September 24, 2010.
  13. "Top 10 Denmark" (PDF). Music & Media. สืบค้นเมื่อ 2018-02-26.
  14. Hits of the World: Eurochart Hot 100. Billboard. February 6, 1993. สืบค้นเมื่อ September 24, 2010. {{cite book}}: ไม่อนุญาตให้ใช้มาร์กอัปตัวเอียงหรือตัวหนาใน: |publisher= (help)
  15. Pennanen, Timo (2006). Sisältää hitin: Levyt ja esittäjät Suomen musiikkilistoilla vuodesta 1972. Finland: Otava. p. 161. ISBN 951-1-21053-X.
  16. "Top 10 Greece" (PDF). Music & Media. สืบค้นเมื่อ 2018-03-20.
  17. "Íslenski Listinn Topp 40 (28.01.1993-04.02.1993)" (PDF). Dagblaðið Vísir - Tónlist. สืบค้นเมื่อ 2018-02-04.
  18. "Highest position and charting weeks of 'I Will Always Love You' by Whitney Houston". oricon.co.jp. สืบค้นเมื่อ April 2, 2010.
  19. "Search results of the Japanese Oricon Weekly Singles Chart – 1st week of February 1993" (ภาษาญี่ปุ่น). Oricon. สืบค้นเมื่อ January 5, 2011.
  20. "Whitney Houston – I Will Always Love You)" (in Dutch). Single Top 100.
  21. "Top 10 Portugal" (PDF). Music & Media. สืบค้นเมื่อ 2018-02-26.
  22. Hits of the World: Spanish Singles Chart. Billboard. March 13, 1993. สืบค้นเมื่อ September 24, 2010. {{cite book}}: ไม่อนุญาตให้ใช้มาร์กอัปตัวเอียงหรือตัวหนาใน: |publisher= (help)
  23. "Whitney Houston: Artist Chart History". Official Charts Company. สืบค้นเมื่อ April 23, 2017.
  24. "Whitney Houston Chart History (Hot 100)". Billboard. สืบค้นเมื่อ April 23, 2017.
  25. "Whitney Houston Chart History (Adult Contemporary)". Billboard. สืบค้นเมื่อ April 23, 2017.
  26. "Whitney Houston Chart History (Hot R&B/Hip-Hop Songs)". Billboard. สืบค้นเมื่อ April 23, 2017.
  27. "Whitney Houston Chart History (Pop Songs)". Billboard. สืบค้นเมื่อ April 23, 2017.
  28. "Whitney Houston Chart History (Rhythmic)". Billboard. สืบค้นเมื่อ April 23, 2017.
  29. * Zimbabwe. Kimberley, C. Zimbabwe: singles chart book. Harare: C. Kimberley, 2000
  30. 30.0 30.1 Billboard 40 Years of the Top 40: The Top 10 Remakes & The Top 10 "Love" Songs. Billboard. September 19, 1998. สืบค้นเมื่อ September 25, 2010. {{cite book}}: ไม่อนุญาตให้ใช้มาร์กอัปตัวเอียงหรือตัวหนาใน: |publisher= (help)
  31. Billboard 40 Years of the Top 40: The Hot 100 of the Hot 100: Top Songs of Four Decades. Billboard. September 19, 1998. สืบค้นเมื่อ September 25, 2010. {{cite book}}: ไม่อนุญาตให้ใช้มาร์กอัปตัวเอียงหรือตัวหนาใน: |publisher= (help)
  32. 32.0 32.1 Billboard 40 Years of the Top 40: The Top 10 Soundtrack Songs & Song with the Most Weeks at No. 1. Billboard. September 19, 1998. สืบค้นเมื่อ September 25, 2010. {{cite book}}: ไม่อนุญาตให้ใช้มาร์กอัปตัวเอียงหรือตัวหนาใน: |publisher= (help)
  33. "Billboard Hot 100 50th Anniversary: The All-Time Hot 100 Top Songs". Billboard. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 16, 2010. สืบค้นเมื่อ September 25, 2010.
  34. "Billboard Hot 100 50th Anniversary: The All-Time Top R&B/Hip-Hop Songs". Billboard. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 28, 2010. สืบค้นเมื่อ September 25, 2010.
  35. "Billboard Hot 100 50th Anniversary: Hot 100 Song of the Year – 1993". Billboard. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 23, 2010. สืบค้นเมื่อ September 25, 2010.
  36. "Billboard Hot 100 55th Anniversary: The All-Time Hot 100 Top Songs". Billboard. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 18, 2010. สืบค้นเมื่อ September 25, 2010.
  37. "Billboard Hot 100 55th Anniversary: The All-Time Top R&B/Hip-Hop Songs". Billboard. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 28, 2010. สืบค้นเมื่อ September 25, 2010.
  38. "Billboard Hot 100 55th Anniversary: Hot 100 Song of the Year – 1993". Billboard. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 23, 2010. สืบค้นเมื่อ September 25, 2010.

วีวิชยูอะเมอรีคริสต์มาส (en:We Wish You a Merry Christmas)

"วีวิชยูอะเมอรีคริสต์มาส"
เพลง
แนวเพลงคริสต์มาส
วีวิชยูอะเมอรีคริสต์มาส (บรรเลง)

วีวิชยูอะเมอรีคริสต์มาส (อังกฤษ: We Wish You a Merry Christmas) เป็นเพลงคริสต์มาสที่ได้รับความนิยมอย่างมากจากสหราชอาณาจักร

ความเป็นมา

ความเป็นมาของเพลงคริสต์มาสนี้ ไม่มีหลักฐานที่แน่ชัด แต่ได้รับการสันนิษฐานจากเดวิส กิลเบิร์ต[1] และวิลเลียม ซันเดย์[2] ว่าอาจมีที่มาจากวรรณกรรมเรื่องซิสเวสเตอร์[3] หรือมาจากวรรณกรรมฮุกส์ แต่หนังสือนิวออกซฟอร์ดบุ๊คออฟคลารอล ที่ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2535 ได้บอกว่าไม่ได้มีที่มาจากวรรณกรรม แต่เป็นเพลงดั้งเดิมประเทศอังกฤษอยู่แล้ว[4]

อย่างไรก็ตามในปี พ.ศ. 2478 เพลงนี้ได้รับการเผยแพร่โดยอาเธอร์ วาร์เดล[5] วาทยากรชาวอังกฤษ โดยใช้ชื่อเพลงว่า "ไอวิชยูอะเมอรีคริสต์มาส"[6] โดยเขามอบหมายให้นักศึกษาสาขาการแสดงจากมหาวิทยาลัยบริตันร่วมร้องประสานเสียงและออกสู่สายตามวลชนในวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2478[7]

เนื้อเพลง
ฉบับที่ 1
เนื้อเพลงภาษาอังกฤษ ถอดคำอ่านภาษาอังกฤษ
Chorus:

We wish you a Merry Christmas We wish you a Merry Christmas We wish you a Merry Christmas And a Happy New Year!

Good tidings we bring To you and your kin We wish you a Merry Christmas And a Happy New Year!

We wish you a Merry Christmas We wish you a Merry Christmas We wish you a Merry Christmas And a Happy New Year!

Now bring us some figgy pudding, Now bring us some figgy pudding, Now bring us some figgy pudding, And bring some out here

REFRAIN

For we all like figgy pudding, We all like figgy pudding, For we all like figgy pudding, So bring some out here

REFRAIN

And we won't go until we've got some We won't go until we've got some We won't go until we've got some So bring some out here

REFRAIN

พร้อมกัน:

(สร้อย) วีวิช ยู อะเมอรี คริสต์มาส วีวิช ยู อะเมอรี คริสต์มาส วีวิช ยู อะเมอรี คริสต์มาส แอนด์ อะ แฮปปี้ นิวเยียร์

กู๊ด ไทดิ้ง วี บริง ทูยู แอนด์ ยู คิน กู๊ด ไทม์ อิส ฟอร์ คริสต์มาส แอนด์ อะ แฮปปี้ นิวเยียร์

วีวิช ยู อะเมอรี คริสต์มาส วีวิช ยู อะเมอรี คริสต์มาส วีวิช ยู อะเมอรี คริสต์มาส แอนด์ อะ แฮปปี้ นิวเยียร์

นาว บริง อาร์ ฟิกกี พุดดิ้ง นาว บริง อาร์ ฟิกกี พุดดิ้ง นาว บริง อาร์ ฟิกกี พุดดิ้ง แอนด์ บริง ซัม เอาต์ เฮียร์

(ซ้ำท่อนสร้อย)

ฟอร์ วี ออล ไลค์ ฟิกกี้ พุดดี้ง วี ออล ไลค์ ฟิกกี้ พุดดี้ง ฟอร์ วี ออล ไลค์ ฟิกกี้ พุดดี้ง โซ บริง ซัม เอาต์ เฮียร์

(ซ้ำท่อนสร้อย)

แอนต์ วี วอนต์ โก อันทิล วีร์ เก็ต ซัม วี วอนต์ โก อันทิล วีร์ เก็ต ซัม วี วอนต์ โก อันทิล วีร์ เก็ต ซัม โซ บริง ซัม เอาต์ เฮียร์

(ซ้ำท่อนสร้อย)

ฉบับที่ 3
เนื้อเพลงภาษาอังกฤษ ถอดคำภาษาอังกฤษ
We wish you a Merry Christmas

We wish you a Merry Christmas We wish you a Merry Christmas and a Happy New Year.

Good tidings we bring for you and your kin, Good tidings for Christmas and a Happy New Year.

REFRAIN

Oh bring us some figgy pudding (x3) and bring it right here.

REFRAIN

And we won't go until we've got some (x3) so bring some out here.

REFRAIN It's a season for music (x3) and a time of good Cheer.

REFRAIN

(สร้อย) วีวิช ยู อะเมอรี คริสต์มาส

วีวิช ยู อะเมอรี คริสต์มาส วีวิช ยู อะเมอรี คริสต์มาส แอนด์ อะ แฮปปี้ นิวเยียร์

กู๊ด ไทดิ้ง วี บริง ทูยู แอนด์ ยู คิน กู๊ด ไทม์ อิส ฟอร์ คริสต์มาส แอนด์ อะ แฮปปี้ นิวเยียร์

(ซ้ำสร้อย)

โอ้! บริง อาร์ ฟิกกี้ พุดดิ้ง (ซ้ำท่อนนี้ 3 ครั้ง) แอนด์ บริง อิท ไลค์ เฮีย

(ซ้ำสร้อย) แอนต์ วี วอนต์ โก อันทิล วีร์ ก็อต ซัม (ซ้ำท่อนนี้ 3 ครั้ง) โซ บริง ซัม เอาต์ เฮียร์

(ซ้ำสร้อย) อิส อะ ซีซั่น ออฟ มิวสิก (ซ้ำท่อนนี้ 3 ครั้ง) แอนต์ อะ ไทม์ ออฟ กู๊ด เชียร์

(ซ้ำสร้อย)

อ้างอิง
  1. Gilbert, Davies (1822). Some ancient Christmas Carols, with the Tunes to which they were formerly sung in the West of England (PDF). London: J. Nichols and Son.
  2. Sandys, William (1833). Christmas Carols, Ancient and Modern. London: Richard Beckley.
  3. Sylvester, Joshua (ed.) (1861). A Garland of Christmas Carols, Ancient and Modern. London: John Camden Hotten. {{cite book}}: |first= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  4. Keyte, Hugh; Parrott, Andrew, บ.ก. (1992). The New Oxford Book of Carols. Oxford: Oxford University Press. p. 529.
  5. Arthur Sydney Warrell, born Farmborough, 1883, died Bristol, 1939. Served as organist and choirmaster and several Bristol churches. Subsequently, taught music at Bristol University and founded the Bristol University Choir, Orchestra, and Madrigal Singers. See Humphreys, Maggie; Robert Evans (1997). Dictionary of Composers for the Church in Great Britain and Ireland. London: Mansell. p. 351. ISBN 0-7201-2330-5.
  6. In the Carols for Choirs reprint, but not in the 1935 original, the option of replacing "I wish you a Merry Christmas" by the more common "We wish you a Merry Christmas" is given
  7. "Music and Drama". Western Daily Press and Bristol Mirror. Bristol. 154 (25, 920): 4. 1935-12-06.

บทความแฟชั่น

ชุดไทย (en:Traditional Thai clothing)

ชุดไทย เป็นเครื่องแต่งกายประจำชาติไทย มีประวัติความเป็นมาและเอกลักษณ์อันยาวนาน โดยสามารถแต่งกายได้ทุกเพศทุกวัย โดยผู้ชายจะสวมเสื้อราชปะแตนหรือเสื้อพระราชทาน นุ่งโจงกระเบน และสวมรองเท้า ส่วนการแต่งกายของผู้หญิงจะห่มสไบหรือสวมเสื้อปัด และนุ่งผ้าถุงหรือโจงกระเบน

เครื่องแต่งกายแบ่งตามส่วนประกอบ
สไบ
 
ผู้หญิงไทยนุ่งผ้าถุงและห่มสไบที่บ้านจิม ทอมป์สัน ราชาแห่งไหมไทย

เป็นผ้าที่มีความกว้างและบาง ใช้สำหรับพาดจากไหล่ซ้ายเฉียงลงทางขวา[1]เพื่อปกปิดส่วนบนของร่างกาย มักจะนิยมใช้ในหมู่ผู้หญิงไทย และยังมีให้พบเห็นในผู้หญิงลาวและกัมพูชา

ซิ่น
 
การแต่งกายของเด็กหญิงในจังหวัดเชียงใหม่

ซิ่น เป็นผ้านุ่งของผู้หญิง มีลักษณะที่แตกต่างกันไปตามท้องถิ่น ทั้งขนาด การนุ่ง และลวดลายบนผืนผ้า[2] โดยมีการสวมใส่ในประเทศลาวและประเทศไทย โดยเฉพาะทางภาคเหนือและภาคอีสานของไทย[3]

ผ้านุ่ง

เป็นเครื่องแต่งกายของเพศหญิง มีลักษณะคล้ายกระโปรงยาว ใช้ปกปิดส่วนล่างของร่างกาย ใช้ทั้งหญิงไทยและหญิงในประเทศเพื่อนบ้าน ในประเทศกัมพูชา จะเรียกผ้านุ่งว่าซัมปอต

เสื้อปัด
 
นางสังขารลาวหลวงพระบางใส่เสื้อปัดโดยมีผ้าเบี่ยงอยู่ชั้นนอก

เป็นเสื้อที่นิยมสวมใส่โดยสตรีในภาคเหนือของประเทศไทย ประเทศลาว[4] และประเทศอื่นๆ ในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งโดยมากมักนุ่งโดยผู้หญิงไทยวนล้านนา ไทลื้อ ลาวหลวงพระบาง และ ลาวเวียงจันทน์ เป็นต้น

โจงกระเบน
 
แบบผ้าโจงกระเบนซึ่งจัดแสดงไว้ที่พิพิธภัณฑ์เสื้อผ้า Bunka Gakuen, ประเทศกัมพูชา

เป็นผ้านุ่งที่ใช้ได้ทั้งเพศชายและเพศหญิง ซึ่งใช้สวมใส่ในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านเป็นจำนวนมาก[5] วิธีการใส่คือ พาดชายผ้าแล้วตะเข็บไว้ที่ด้านข้าง เหนือน่องขาประมาณ 3 เมตร[6]

ราชปะแตน

เป็นเครื่องแต่งกายชายไทย ประกอบด้วยเสื้อสูทสีขาว คอตั้งสูง และมีกระดุมห้าเม็ด โจงกระเบน สวมถุงเท้ายาวถึงเข่า และรองเท้าหุ้มส้น ถูกนำมาใช้ครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว[7]

อ้างอิง
  1. Robyn J. Maxwell, Mattiebelle Gittinger, Textiles of Southeast Asia: Tradition, Trade and Transformation
  2. Dolly Brittan (1997). The People of Laos. New York: PowerKids Press. ISBN 082-3951-24-3.
  3. Edeltraud Tagwerker (2009). Siho and Naga--Lao Textiles: Reflecting a People's Tradition and Change. Frankfurt am Main: Peter Lang. ISBN 363-1586-89-2.
  4. ການນຸ່ງຖືຂອງແມ່ຍິງລາວກັບງານປະເພນີ
  5. http://neary-khmer.blogspot.com/2009/07/cen-tamil.html
  6. พจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525
  7. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554

บทความการทหาร

บราวน์นิ่ง ไฮเพาว์เวอร์ (en:Browning Hi-Power)

 
Browning Hi-Power
ชนิด ปืนพกกึ่งอัตโนมัติ
สัญชาติ   เบลเยียม
สมัย {{{สมัย}}}
การใช้งาน 2483 - ปัจจุบัน[1] having been used by the armed forces of over 50 countries.[2]
เป้าหมาย บุคคล
เริ่มใช้ 2483
ช่วงผลิต 2478 - 2560
ช่วงการใช้งาน 2483 - ปัจจุบัน
ผู้ใช้งาน
สงคราม สงครามโลกครั้งที่สอง[1] having been used by the armed forces of over 50 countries.[2]  • สงครามเย็น  • สงครามเวียดนาม  • สงครามเกาหลี  • ฯลฯ
ขนาดลำกล้อง 119 มม.
ระยะครบรอบเกลียว {{{Rate_of_twist}}}
ความยาวลำกล้อง {{{Barrel_lenght}}}
กระสุน 9×19 มิลลิเมตร  • .40 สมิตร์แอนด์เวสสัน
ซองกระสุน บรรจุ 13 นัด (9 มม.)  • บรรจุ 10 นัด (.40)
ระบบปฏิบัติการ ลูกเลื่อน
อัตราการยิง กึ่งอัตโนมัติ
ความเร็วปากลำกล้อง 335 เมตร/วินาที[3]
ระยะยิงหวังผล 50 ม.
ระยะยิงไกลสุด {{{Maximum_range}}}
น้ำหนัก 1 กิโลกรัม
ความยาว 197 มิลลิเมตร
แบบอื่น {{{variants}}}

บราวน์นิ่ง ไฮเพาว์เวอร์ (อังกฤษ: Browning Hi-Power) เป็นปืนพกกึ่งอัตโนมัติที่มีประสิทธิภาพและทรงพลังชนิดหนึ่งของโลก[1] having been used by the armed forces of over 50 countries.[2] ออกแบบเมื่อปี พ.ศ. 2456 โดยจอห์น บราว์นนิ่ง ผู้ผลิตและออกแบบอาวุธปืนชาวอเมริกัน ผลิตครั้งแรกในปี พ.ศ. 2475 โดยบริษัทผลิตอาวุธปืนเบลเยียมเอฟเอ็น (FN) และผลิตครั้งสุดท้ายในปี พ.ศ. 2560[4]

ไฮเพาว์เวอร์ บรรจุกระสุนได้ 10 นัด มีขนาดกะทัดรัด ลักษณะของปืนได้นำปืนพกรุ่นลูเกอร์ และเอ็ม 1911 มารวมในกระบอกเดียวกัน ไฮเพาว์เวอร์ใช้กระสุนขนาด 9×19 มิลลิเมตร และ.40 สมิตร์แอนด์เวสสัน ผลิตออกมาหลายรุ่น แต่รุ่นที่นิยมใช้คือ P-35, HP-35, MK1 ฯลฯ

คุณสมบัติ[5]

  • ตัวปืนมีขนาดกะทัดรัด
  • ซองกระสุนบรรจุได้ 10 นัด
  • ป้องกันปืนลั่นและมีความปลอดภัย
  • มีความแข็งแรงและทนทาน ง่ายต่อการจัดเก็บ
  • ระยะยิงหวังผล 50 เมตร

การนำมาใช้

ไฮเพาว์เวอร์ นำมาใช้ครั้งแรกในสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อปี พ.ศ. 2483 ซึ่งเป็นปืนพกที่นิยมใช้ในการทหารมาก่อนปี พ.ศ. 2533 จึงมีการผลิตออกมาเรื่อยๆ โดนรุ่นปัจจุบันผลิตครั้งล่าสุดใน พ.ศ. 2560 และยังเป็นปืนพกที่ใช้กันปกติในประเทศแคนาดา โดยใช้รุ่น MK1[6] นอกจากนี้ยังมีหลายประเทศผลิตปืนพกที่มีลักษณะคล้ายปืนพกรุ่นนี้ เช่นประเทศอินโดนีเซีย[7]

รุ่นปืน

บราวน์นิ่ง ไฮเพาเวอร์ มีรุ่นที่ผลิตหลายรุ่น แต่รุ่นที่เป็นที่รู้จักกันดี เช่น

  • พี 35 (P-35) เป็นรุ่นที่ผลิตออกมารุ่นแรก ถูกใช้ครั้งแรกในสงครามโลกครั้งที่ 2 และเป็นรุ่นที่นิยมใช้มากที่สุดในปัจจุบัน
  • L9A1 ออกแบบโดยสหราชอาณาจักร เพื่อนำมาใช้ในกองทัพอากาศสหราชอาณาจักรในสงครามเย็น ทั้งยังเป็นต้นแบบของปืนพกกึ่งอัตโนมัติด้วยกัน กล็อก 17 (Glock 17)[8]
  • บีดีเอ (BDA) เป็นรุ่นย่อยของไฮเพาว์เวอร์ โดยนำแบบ FN Model 1900 มาผสมผสานกับไฮเพาว์เวอร์

ประเทศที่ใช้

ยุติการผลิต

ไฮเพาว์เวอร์ ถูกผลิตเป็นครั้งสุดท้ายในปี พ.ศ. 2560[11] จากนั้นก็ได้ขายลิขสิทธิ์และกรรมสิทธิ์ทั้งหมดให้แก่โรงงานยุทโธปกรณ์อิสโพธิ์, ประเทศอินเดีย[12]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 Arnold, David W. (2010-09-24). "Classic Handguns of the 20th Century: The Browning HI-Power". Handguns Magazine. สืบค้นเมื่อ 2010-01-19.
  2. 2.0 2.1 2.2 Miller, David (2001). The Illustrated Directory of 20th Century Guns. Salamander Books Ltd. ISBN 1-84065-245-4.
  3. Miller, David (2001). The Illustrated Directory of 20th Century Guns. Salamander Books Ltd. ISBN 1-84065-245-4.
  4. http://www.browning.com/products/firearms/pistols/hi-power-pistols.html
  5. Miller, David (2001). The Illustrated Directory of 20th Century Guns. Salamander Books Ltd. ISBN 1-84065-245-4.
  6. "British armed forces get first new pistol since World War II". The Register. 2013-01-11. สืบค้นเมื่อ 2013-01-19.
  7. "Un repaso a las armas ligeras de Pindad" (ภาษาสันสกฤต). ARMAS. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-04-02. สืบค้นเมื่อ 2010-07-05.
  8. "British armed forces get first new pistol since World War II". The Register. 2013-01-11. สืบค้นเมื่อ 2013-01-19.
  9. 9.00 9.01 9.02 9.03 9.04 9.05 9.06 9.07 9.08 9.09 9.10 9.11 9.12 Jones, Richard D. Jane's Infantry Weapons 2009/2010. Jane's Information Group; 35 edition (January 27, 2009). ISBN 978-0-7106-2869-5.
  10. "Un repaso a las armas ligeras de Pindad" (ภาษาสันสกฤต). ARMAS. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-04-02. สืบค้นเมื่อ 2010-07-05.
  11. http://www.browning.com/products/firearms/pistols/hi-power-pistols.html
  12. "Multiplying the Sources: Licensed and Unlicensed Military Production" (PDF). Geneva: Small Arms Survey. 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 23 December 2016. สืบค้นเมื่อ 21 September 2016.

บทความกีฬา

จอห์น โฮลดิง (en:John Houlding)

จอห์น โฮลดิง
 
เกิดสิงหาคม พ.ศ. 2376
ลิเวอร์พูล,   บริเตนใหญ่
เสียชีวิต17 มีนาคม พ.ศ. 2445
ซิมา,   ฝรั่งเศส
สัญชาติ  อังกฤษ
อาชีพนักธุรกิจ, นักการเมือง
มีชื่อเสียงจากผู้ก่อตั้งสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล

จอห์น โฮลดิง (อังกฤษ: John Houlding) เป็นนักธุรกิจ, นักการเมืองชาวอังกฤษจากเมืองลิเวอร์พูล และเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะที่เขาเป็นผู้ก่อตั้งสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล[1]

หน้าที่การงาน

เขาเกิดในครอบครัวนักธุรกิจจากเมืองลิเวอร์พูล ศึกษาอยู่ที่วิทยาลัยลิเวอร์พูล เป็นนักกิจกรรมตัวยงของวิทยาลัย และจบการศึกษา ณ วิทยาลัยลิเวอร์พูล จากนั้นเขาลงสมัครเลือกตั้งเป็นนากเทศมนตรีเมืองลิเวอร์พูล และชนะการเลือกตั้งอีกด้วยในนามพรรคอนุรักษ์นิยม เมื่อปี พ.ศ. 2440[2] นอกจากนี้ยังเป็นสมาชิกองค์กรฟรีเมสัน ด้วยเลขประจำตัว 2215[3]

และเขาเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะเป็นผู้ก่อตั้งสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล[4] สโมสรฟุตบอลที่ได้ชื่อว่าประสบความสำเร็จที่สุดในอังกฤษ ได้รับการก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2445[5]

ลาลับ

เขาเสียชีวิตเมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2445 ณ เมืองซิเม ประเทศฝรั่งเศส รวมอายุได้ 69 ปี[6]

อ้างอิง
  1. Liversedge, Stan (1991). Liverpool:The Official Centenary History. p. 108. London: Hamlyn Publishing Group Ltd. ISBN 0-600-57308-7.
  2. David Kennedy
  3. "Anfield Lodge No. 2215". Woolton Group of Lodges and Chapters. 15 October 2017.
  4. Liversedge, Stan (1991). Liverpool:The Official Centenary History. p. 108. London: Hamlyn Publishing Group Ltd. ISBN 0-600-57308-7.
  5. "Happy birthday LFC? Not quite yet..." Liverpool F.C. สืบค้นเมื่อ 15 March 2014. Liverpool F.C. was born on 3 June 1892. It was at John Houlding's house in Anfield Road that he and his closest friends left from Everton FC, formed a new club.
  6. Williams, John (2010), Red Men: Liverpool Football Club - The Biography. Mainstream Publishing. ISBN 978-1845967109.