เครื่องหมายจราจร

(เปลี่ยนทางจาก ป้ายจราจร)

เครื่องหมายจราจรเป็นสัญลักษณ์ทางจราจรที่ใช้ในการควบคุมการจราจร มักเป็นสัญญาณแสงหรือป้าย มักมีจุดประสงค์เพื่อ กำหนดบังคับการเคลื่อนตัวของจราจร การจอด หรืออาจเป็นการเตือน หรือแนะนำทางจราจร[1] [2][3]เป็นอาทิ

ภาพเคลื่อนไหวของสัญญาณไฟจราจรปกติ
สัญญาณไฟจราจรสำหรับข้ามถนน ในไต้หวัน
สัญญาณไฟจราจรใช้สำหรับจัดการเรื่องเลน

สัญญาณไฟจราจร

แก้

สัญญาณไฟจราจรโดยทั่วไปประกอบด้วยสัญญาณไฟสามสี ติดตั้งตามทางแยกต่างเพื่อควบคุมการจราจรตามทางแยก โดยทั้งสามสี ได้แก่ สีแดงให้รถหยุด สีเหลืองให้รถระวัง เตรียมหยุด และสีเขียวคือให้รถไปได้ สำหรับสัญญาณไฟจราจรพิเศษอาจมีสีเหลืองเพียงสีเดียวจะกะพริบอยู่ ใช้สำหรับทางแยกที่ไม่พลุกพล่านหมายถึง ให้ระมัดระวังว่ามีทางแยก และดูความเหมาะสมในการออกรถได้เอง หรือ สัญญาณไฟจราจรสำหรับการข้ามถนน หรือ สัญญาณไฟจราจรไว้สำหรับเปลี่ยนเลน เป็นต้น

ป้ายจราจร

แก้
 
ตัวอย่างป้ายชื่อทางแยกต่างระดับในประเทศไทย
 
ตัวอย่างป้ายแนะนำชื่อทางแยก แบบมาตรฐานกรุงเทพมหานคร

ป้ายจราจรเป็นป้ายทางการควบคุมการจราจร แบ่งออกเป็นสามประเภท[4]

  • ป้ายบังคับ มักจะมีพื้นสีขาว ขอบสีแดง เป็นป้ายกำหนด ต้องทำตาม เช่น ห้ามเลี้ยวขวา
  • ป้ายเตือน มักจะมีพื้นสีขาว ขอบสีดำ จะเป็นป้ายแจ้งเตือนว่ามีอะไรอยู่ข้างหน้า[5]
  • ป้ายแนะนำ เป็นป้ายที่แนะนำการเดินทางต่างๆ อาทิ ทางลัด ป้ายบอกระยะทาง เป็นต้น[6][7]

เครื่องหมายจราจรอื่น ๆ

แก้

เครื่องหมายบนพื้นทางและขอบทางเท้า

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. https://www.gov.uk/government/uploads/system/uploads/attachment_data/file/203662/traffic-signs-manual-chapter-01.pdf
  2. Prasad, Prakash Charan (1977). Foreign Trade and Commerce in Ancient India (ภาษาอังกฤษ). Abhinav Publications. ISBN 978-81-7017-053-2.
  3. "The Road to Clarity - The New York Times". web.archive.org. 2017-08-30. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-30. สืบค้นเมื่อ 2024-05-03.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  4. https://mutcd.fhwa.dot.gov/resources/interim_approval/ia5rptcongress/ia5rptcongress.pdf
  5. "Opel Insignia to feature traffic sign recognition system - Monsters and Critics". web.archive.org. 2010-10-26. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-10-26. สืบค้นเมื่อ 2024-05-03.
  6. "The Road to Clarity - The New York Times". web.archive.org. 2017-08-30. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-30. สืบค้นเมื่อ 2024-05-03.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  7. "Design and Use Policy for Clearview Alphabet - FHWA MUTCD". mutcd.fhwa.dot.gov.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้