ปิยะสาร ประเสริฐธรรม

ศาสตราจารย์ ดร. ปิยะสาร ประเสริฐธรรม (English: Piyasan Praserthdam) เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นอาจารย์และนักวิจัยชาวไทยในศูนย์เชี่ยวชาญทางเฉพาะทางด้านคาตาไลซิสและวิศวกรรมปฏิกิริยาที่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา[1] หรือ Center of Excellence on Catalysis and Catalytic Reaction Engineering เก็บถาวร 2018-04-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน[2][1] ที่มีผลงานดีเด่นในสาขวิศวกรรมเคมี ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ ระดับ 11 สังกัด ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย[3] ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2546 สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย[4][5] นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2549 สาขาวิศวกรรมเคมี[6] รางวัล ศักดิ์อินทาเนีย จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย[7] และเป็นเมธีวิจัยอาวุโส สกว. ประจำปี พ.ศ. 2540, 2544 และ 2547[8] สาขาวิศวกรรมเคมี

ประวัติ แก้

ประวัติการศึกษา[7][9][3][10] แก้

ประวัติการทำงาน[7][9][3] แก้

ตำแหน่งบริหาร[7] แก้

เกียรติคุณและรางวัล[11][6][8][5][4] แก้

  • พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009) รางวัล PTIT Awards: PTIT Fellow ประจำปี 2552 – 2553[11][4]
  • พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006) รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์[6][4]
  • พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) รางวัลทุนวิจัยเมธีวิจัยอาวุโส ครั้งที่ 3สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)[8][4]
  • พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ[5][4]
  • พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001) รางวัลทุนวิจัยเมธีวิจัยอาวุโส ครั้งที่ 2 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)[8][4]
  • พ.ศ. 2540 (ค.ศ. 1997) รางวัลทุนวิจัยเมธีวิจัยอาวุโส ครั้งที่ 1 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)[8][4]

ผลงานด้านการวิจัย[10] แก้

ศ.ดร. ปิยะสาร ประเสริฐธรรม ท่านได้ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับตัวเร่งปฏิกิริยา ( Catalyst ) ซึ่งเป็นหัวใจของการผลิตของอุตสาหกรรมปิโตรเคมี มาอย่างต่อเนื่องกว่า 25 ปี นอกจากนี้ ยังได้บุกเบิกการศึกษาเกี่ยวกับผลึกขนาดนาโนเมตร[7] เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยชนิดใหม่ที่ว่องไวกว่า ซึ่งผลงานของท่าน สามารถนำไปใช้เป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อ ภาคอุตสาหกรรม ต่าง ๆ เป็นอย่างมาก

สิทธิบัตร แก้

  • สิทธิบัตรสหรัฐอเมริกา เลขที่ 5,849,662 December 15, 1998 เรื่อง “Catalyst comprising of element from group 1B and V111B activated by oxygen and/or oxygen containing compound”.[12]
  • ยื่นขอสิทธิบัตรประเทศไทย เรื่อง กรรมวิธีการฟื้นฟูสภาพแคตาไลติคคอนเวอร์เตอร์ที่ใช้งานแล้ว[4]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ แก้

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 ศูนย์เชี่ยวชาญทางเฉพาะทางด้านคาตาไลซิสและวิศวกรรมปฏิกิริยาที่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา
  2. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-04-02. สืบค้นเมื่อ 2018-04-04.
  3. 3.0 3.1 3.2 ภาควิชาวิศวกรรมเคมี[ลิงก์เสีย]
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 4.7 4.8 เกียรติคุณและรางวัล[ลิงก์เสีย]
  5. 5.0 5.1 5.2 เกียรติคุณและรางวัล[ลิงก์เสีย]
  6. 6.0 6.1 6.2 เกียรติคุณและรางวัล
  7. 7.0 7.1 7.2 7.3 7.4 รางวัล ศักดิ์อินทาเนีย
  8. 8.0 8.1 8.2 8.3 8.4 หนังสือเมธีวิจัยอาวุโส ๒๕๔๗-๒๕๔๘, สำนักงานสนับสนุนกองทุนวิจัย
  9. 9.0 9.1 "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-04-22. สืบค้นเมื่อ 2018-04-04.
  10. 10.0 10.1 "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-05-26. สืบค้นเมื่อ 2018-04-25.
  11. 11.0 11.1 "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-03. สืบค้นเมื่อ 2018-04-04.
  12. สิทธิบัตรสหรัฐอเมริกา เลขที่ 5,849,662
  13. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย[ลิงก์เสีย], เล่ม ๑๑๙ ตอนที่ ๒๑ ข หน้า ๔, ๔ ธันวาคม ๒๕๔๕
  14. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-09-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๔ ตอนที่ ๒๗ ข หน้า ๑๙, ๓ ธันวาคม ๒๕๔๐
  15. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ เก็บถาวร 2022-05-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๐ ตอนที่ ๒๐ ข หน้า ๑๒๙, ๑ ธันวาคม ๒๕๔๖
  16. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา ประจำปี ๒๕๖๐ เก็บถาวร 2022-05-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๑ ข หน้า ๒, ๒ เมษายน ๒๕๖๑
  17. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา เก็บถาวร 2022-05-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๙ ตอนที่ ๒ ข หน้า ๓๒๒, ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๕