ปิยกุล บุญเพิ่ม
ปิยกุล บุญเพิ่ม (28 ตุลาคม พ.ศ. 2499) ประธานศาลฎีกา คนที่ 47 โดยเป็นประธานศาลฏีกาหญิงที่สองในประวัติศาสตร์ศาลยุติธรรมของประเทศไทย[1]
ปิยกุล บุญเพิ่ม | |
---|---|
ประธานศาลฎีกา คนที่ 47 | |
ดำรงตำแหน่ง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2564 – 30 กันยายน พ.ศ. 2565 | |
ก่อนหน้า | เมทินี ชโลธร |
ถัดไป | โชติวัฒน์ เหลืองประเสริฐ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 28 ตุลาคม พ.ศ. 2499 |
ศาสนา | พุทธ |
ประวัติ
แก้ปิยกุลสำเร็จการศึกษานิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) มหาวิทยาลัยรามคำแหง นิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา[2]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
แก้- พ.ศ. 2546 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[3]
- พ.ศ. 2543 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[4]
- พ.ศ. 2546 – เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)[5]
อ้างอิง
แก้- ↑ "มติ "ปิยกุล บุญเพิ่ม" ประธานฎีกาหญิงคนที่ 2 แทน "เมทินี ชโลธร"". www.thairath.co.th. 2021-07-22.
- ↑ ประวัติ นางสาวปิยกุล บุญเพิ่ม ประธานศาลฎีกา คนที่ 47 เก็บถาวร 2021-11-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน เว็บไซต์สำนักประธานศาลฎีกา
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย เก็บถาวร 2015-09-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๐ ตอนที่ ๑๙ ข หน้า ๘, ๑ ธันวาคม ๒๕๔๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย, เล่ม ๑๑๗ ตอนที่ ๒๕ ข หน้า ๒๖, ๑ ธันวาคม ๒๕๔๓
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๑๒๑ ตอนที่ ๔ ข หน้า ๓๗๐, ๑๐ มีนาคม ๒๕๔๗