ปาลังการายา (อินโดนีเซีย: Palangka Raya) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดกาลีมันตันกลาง ประเทศอินโดนีเซีย ยังเป็นที่รู้จักจากการเป็นเมืองที่ตั้งอยู่ตอนกลางของเกาะบอร์เนียวที่อยู่ระหว่างแม่น้ำกาฮายันกับแม่น้ำซาบาเงา สนามบินที่ใกล้ที่สุดของเมืองคือ สนามจีลิก รีวุต[3]

ปาลังการายา
Kota Palangka Raya
City of Palangka Raya
จากบน ขวาไปซ้าย: อนุสาวรีย์ซูการ์โน, ศูนย์อิสลามแห่งปาลังการายา, อนุสาวรีย์เยาวชน, เบิร์ดราวด์ในสวนกลาง, มหาวิทยาลัยปาลับการายา และสำนักงานรัฐสภา
จากบน ขวาไปซ้าย:
อนุสาวรีย์ซูการ์โน, ศูนย์อิสลามแห่งปาลังการายา, อนุสาวรีย์เยาวชน, เบิร์ดราวด์ในสวนกลาง, มหาวิทยาลัยปาลับการายา และสำนักงานรัฐสภา
ตราอย่างเป็นทางการของปาลังการายา
ตรา
สถานที่ตั้งในจังหวัดกาลีมันตันกลาง
ปาลังการายาตั้งอยู่ในกาลีมันตัน
ปาลังการายา
ปาลังการายา
สถานที่ตั้งในกาลีมันตันและอินโดนีเซีย
ปาลังการายาตั้งอยู่ในประเทศอินโดนีเซีย
ปาลังการายา
ปาลังการายา
ปาลังการายา (ประเทศอินโดนีเซีย)
พิกัด: 2°12′36″S 113°55′12″E / 2.21000°S 113.92000°E / -2.21000; 113.92000พิกัดภูมิศาสตร์: 2°12′36″S 113°55′12″E / 2.21000°S 113.92000°E / -2.21000; 113.92000
ประเทศ อินโดนีเซีย
จังหวัด จังหวัดกาลีมันตันกลาง
ก่อตั้ง17 กรกฎาคม 1957
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีรีบัน ซาตียา
 • รองนายกเทศมนตรีโมฟิต ซัปโตโน ซูบาจีโอ
พื้นที่
 • ทั้งหมด2,678.51 ตร.กม. (1,034.18 ตร.ไมล์)
ความสูง5 เมตร (16 ฟุต)
ประชากร
 (2015)
 • ทั้งหมด376,647[1] คน
ประชากรศาสตร์
 • ศาสนา[2]อิสลาม 69.31%
โปรเตสแตนต์ 26.51%
คาทอลิก 1.88%
ฮินดู 1.59%
กาฮารีงัน 0.53%
พุทธ 0.17
ลัทธิขงจื๊อ 0.004%
เขตเวลาUTC+7 (Indonesia Western Time)
Area code(+62) 536
เว็บไซต์palangkaraya.go.id

เมืองมีประชากร 220,962 คน จากข้อมูลการสำรวจสำมะโนประชากรปี ค.ศ. 2010[4] (เปรียบเทียบกับการสำรวจในปี 2000 มีประชากร 158,770 คน) โดยมีความหนาแน่นประชากรเฉลี่ย 92.1 คน/ตร.กม. (การสำรวจสำมะโนประชากรปี 2010) และการประเมินประชากรอย่างเป็นทางการล่าสุดเมื่อเดือนมกราคม 2014 มีประชากร 236,601 คน

เมืองก่อตั้งในปี 1957 (กฎหมายพลังงาน 10/1957 เรื่องการก่อตั้งแคว้นการปกครองตนเองกาลีมันตันกลางระดับ 1)[5] ในบริเวณรกร้างว่างเปล่าที่เปิดผ่านหมู่บ้านปาฮันดุตริมฝั่งแม่น้ำกาฮายัน เมืองปาลังการายายังเป็นเมืองที่มีพื้นที่มากที่สุดในอินโดนีเซีย[6] พื้นที่ส่วนใหญ่ของเมืองยังคงเป็นป่าไม้ รวมถึงป่าสงวน บริเวณอนุรักษ์ทางธรรมชาติ และป่าตังกีลิง[7]

ปาลังการายายังถือได้ว่าเป็นตัวเต็งในการเป็นเมืองหลวงแห่งใหม่ของอินโดนีเซีย[8][9][10]

อ้างอิง แก้

  1. "Kota Palangka Raya Dalam Angka 2016"
  2. "Kota Palangka Raya Dalam Angka 2016"
  3. "Tjilik Riwut". World Aero Data. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 19 January 2014.
  4. Biro Pusat Statistik, Jakarta, 2011.
  5. "Emergency Law 10/1957 or Undang-Undang Darurat Nomor 10 Tahun 1957" (ภาษาอินโดนีเซีย).
  6. http://politik.news.viva.co.id/news/read/167865-mengapa-palangkaraya-paling-pas-jadi-ibukota
  7. "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 September 2013. สืบค้นเมื่อ 20 September 2013.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  8. Hidayat, Rifki (July 2017). "Dari Sukarno hingga Jokowi, mengapa Palangkaraya selalu jadi primadona ibu kota baru?". BBC Indonesia.
  9. Saugy, Riyandi (April 2017). "4 Alasan Presiden Jokowi pindahkan ibu kota ke Palangkaraya". Merdeka.com.
  10. Simbolon, Huyugo (October 2017). "Palangka Raya Kandidat Ibu Kota RI, Kalteng Bangun Tugu Pancasila". Liputan6. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-01-18. สืบค้นเมื่อ 2018-11-20.