ปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล

นางปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล หรือชื่อเล่นว่า แมว (25 กรกฎาคม 2496 — ) ประธานคณะกรรมการในคณะกรรมการประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารหอภาพยนตร์ ประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม คนที่ 5 มีความสนใจในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการปฏิบัติงาน จนเคยได้รับการตั้งฉายาจากสื่อมวลชนว่า "อธิบดีออนไลน์" โดยนางปริศนาค่อนข้างโดดเด่น จากบทบาทสำคัญในการอนุรักษ์ สร้างสรรค์ และการรักษาศิลปวัฒนธรรมไทย โดยเฉพาะมรดกภูมิปัญญาที่จับต้องไม่ได้ (ICH) ซึ่งต้องอาศัยเม็ดเงินเข้ามาผลักดันสนับสนุนจึงจะประสบความสำเร็จ[1]

ปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล
ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม
ดำรงตำแหน่ง
7 ธันวาคม พ.ศ. 2555 – 30 กันยายน พ.ศ. 2556
(ข้อผิดพลาด: แม่แบบ:อายุปีและวัน รองรับเฉพาะปีพุทธศักราช กรุณาใช้ แม่แบบ:Age in years and days หากใช้ปีคริสต์ศักราช)
ก่อนหน้าสมชาย เสียงหลาย
ถัดไปปรีชา กันธิยะ
อธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม
ดำรงตำแหน่ง
1 ตุลาคม พ.ศ. 2554 – 6 ธันวาคม พ.ศ. 2555
(ข้อผิดพลาด: แม่แบบ:อายุปีและวัน รองรับเฉพาะปีพุทธศักราช กรุณาใช้ แม่แบบ:Age in years and days หากใช้ปีคริสต์ศักราช)
ก่อนหน้าอภินันท์ โปษยานนท์
ถัดไปชาย นครชัย
ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย
ดำรงตำแหน่ง
1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 – 30 กันยายน พ.ศ. 2554
(ข้อผิดพลาด: แม่แบบ:อายุปีและวัน รองรับเฉพาะปีพุทธศักราช กรุณาใช้ แม่แบบ:Age in years and days หากใช้ปีคริสต์ศักราช)
ก่อนหน้าอภินันท์ โปษยานนท์
ถัดไปชาย นครชัย
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด25 กรกฎาคม พ.ศ. 2496
อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
(ข้อผิดพลาด: แม่แบบ:อายุปีและวัน รองรับเฉพาะปีพุทธศักราช กรุณาใช้ แม่แบบ:Age in years and days หากใช้ปีคริสต์ศักราช)
ศาสนาพุทธ
คู่สมรสสุรพล พงษ์ทัดศิริกุล

ประวัติ

แก้

ชีวิตส่วนตัว

แก้

นางปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล เกิดเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2496 พื้นเพเป็นคนตำบลอัมพวา อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม สมรสกับ นายสุรพล พงษ์ทัดศิริกุล อดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทย มีบุตร-ธิดา 3 คน[2]

การศึกษา

แก้

ประสบการณ์การทำงาน[3]

แก้

นอกจากประสบการณ์ในด้านงานวัฒนธรรมแล้ว ยังดำรงตำแหน่งรองประธานอนุกรรมการปฏิบัติการยุทธศาสตร์ด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และความเสมอภาคของบุคคล ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี รวมทั้งเคยดำรงตำแหน่งนายกเหล่ากาชาดจังหวัด หลายจังหวัด[3]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

แก้

รางวัลที่ได้รับ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. ไทยรัฐ. (มปป.). ปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [1]. (เข้าถึงเมื่อ: 27 สิงหาคม 2553).
  2. สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดชลบุรี. (มปป.). ผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี คนใหม่. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [2]. (เข้าถึงเมื่อ: 27 สิงหาคม 2553).
  3. 3.0 3.1 กระทรวงวัฒนธรรม. (มปป.). นางปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม คนที่ ๕ กระทรวงวัฒนธรรม. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [3][ลิงก์เสีย]. (เข้าถึงเมื่อ: 27 สิงหาคม 2553).
  4. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๕ เก็บถาวร 2013-10-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๓๕ ข หน้า ๗, ๓ ธันวาคม ๒๕๕๕
  5. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย เก็บถาวร 2010-10-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๑๘ ข หน้า ๒๓, ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐
  6. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา เก็บถาวร 2021-09-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๙ ตอนที่ ๒ ข หน้า ๑๘๒, ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๕
  7. นางปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล, นางปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล เก็บถาวร 2012-05-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  8. นางปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล, นางปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล เก็บถาวร 2012-05-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  9. นางปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล, นางปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล เก็บถาวร 2012-05-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน