ประเทศโมนาโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020
ประเทศโมนาโก เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 ที่โตเกียว ซึ่งเดิมกำหนดให้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม ถึง 9 สิงหาคม 2020 แต่ได้เลื่อนการแข่งขันออกไปเป็นวันที่ 23 กรกฎาคม ถึง 8 สิงหาคม 2021 เนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19[3] นับตั้งแต่มีการเปิดตัวอย่างเป็นทางการของประเทศในปี 1920 นักกีฬาโมนาโกได้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนทุกครั้งตลอดยุคปัจจุบัน ยกเว้นสามครั้ง โมนาโกไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนปี 1932 ที่ลอสแอนเจลิสในช่วงภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ทั่วโลก ไม่ได้ลงทะเบียนนักกีฬาคนใดเลยในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1956 ที่เมลเบิร์น และยังเข้าร่วมการคว่ำบาตรที่นำโดยสหรัฐอเมริกาเมื่อกรุงมอสโกเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1980
ประเทศโมนาโก ในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 | |
---|---|
![]() | |
รหัสประเทศ | MON |
เอ็นโอซี | คณะกรรมการโอลิมปิกโมนาโก |
เว็บไซต์ | www |
ณ โตเกียว, ประเทศญี่ปุ่น 23 กรกฎาคม ค.ศ. 2021 – 8 สิงหาคม ค.ศ. 2021 | |
นักกีฬา | 6 คน ใน 5 ชนิดกีฬา |
ผู้เชิญธงชาติ (พิธีเปิด) | หยาง เชียวซิน เควนติน อ็องต็อกเนลลี่[2] |
ผู้เชิญธงชาติ (พิธีปิด) | อาสาสมัคร[1] |
เหรียญ |
|
การเข้าร่วมแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน | |
จำนวนนักกีฬา
แก้จำนวนนักกีฬาในแต่ละชนิดกีฬามีดังต่อไปนี้
กีฬา | ชาย | หญิง | รวม |
---|---|---|---|
กรีฑา | 0 | 1 | 1 |
ยูโด | 1 | 0 | 1 |
เรือพาย | 1 | 0 | 1 |
ว่ายน้ำ | 1 | 1 | 2 |
เทเบิลเทนนิส | 0 | 1 | 1 |
รวม | 3 | 3 | 6 |
กรีฑา
แก้โมนาโกได้รับสิทธิ์สากลจากสหพันธ์กรีฑาโลก เพื่อส่งนักกรีฑาหญิงไปแข่งขันโอลิมปิก[4]
- หมายเหตุ–อันดับที่กำหนดไว้สำหรับการแข่งขันประเภทลู่จะอยู่ภายในกลุ่มของนักกีฬาเท่านั้น
- Q = ผ่านเข้ารอบต่อไป
- q = ผ่านเข้ารอบต่อไปในฐานะผู้แพ้ที่เร็วที่สุด หรือ ในการแข่งขันประเภทลาน โดยพิจารณาจากตำแหน่งโดยไม่บรรลุเป้าหมายการผ่านเข้ารอบ
- NR = สถิติระดับประเทศ
- N/A = รอบที่ไม่สามารถแข่งขันได้
- Bye = นักกีฬาไม่จำเป็นต้องแข่งขันในรอบ
- ประเภทลู่และถนน
นักกีฬา | รายการ | ฮีท | ก่อนรองฯ | รอบรองฯ | ชิงชนะเลิศ | ||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ผล | อันดับ | ผล | อันดับ | ผล | อันดับ | ผล | อันดับ | ||
ชาร์ล็อต อเฟรียต์ | 100 เมตร หญิง | 12.35 | 5 | ไม่ได้ผ่านเข้ารอบ |
ยูโด
แก้โมนาโกส่งนักยูโดชายหนึ่งคนเข้าสู่การแข่งขันโอลิมปิก หลังจากที่สหพันธ์ยูโดนานาชาติ ได้มอบโควตาคำเชิญสามฝ่ายให้แก่พวกเขา
นักกีฬา | รายการ/รุ่น | 64 คน | 32 คน | 16 คน | ก่อนรองฯ | รอบรองฯ | แก้ตัว | ชิงชนะเลิศ/ทองแดง | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
คู่แข่ง ผล |
คู่แข่ง ผล |
คู่แข่ง ผล |
คู่แข่ง ผล |
คู่แข่ง ผล |
คู่แข่ง ผล |
คู่แข่ง ผล |
อันดับ | ||
เซดริก เบซซี | 73 กก. ชาย | Bye | ดิยาลโล (BUR) ชนะ 10–00 |
เซนโดแชร์ (MGL) แพ้ 01–11 |
ไม่ได้ผ่านเข้ารอบ |
เรือพาย
แก้โมนาโกได้รับคำเชิญจากคณะกรรมาธิการไตรภาคีให้ส่งนักพายเรือในประเภทเรือกรรเชียงเดี่ยวชายไปแข่งขันที่โตเกียว ซึ่งถือเป็นการกลับมาสู่กีฬาชนิดนี้ของชาติเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ลอนดอน 2012
นักกีฬา | รายการ | ฮีท | แก้ตัว | ก่อนรองฯ | รอบรองฯ | ชิงชนะเลิศ | |||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เวลา | อันดับ | เวลา | อันดับ | เวลา | อันดับ | เวลา | อันดับ | เวลา | อันดับ | ||
เควนติน อ็องต็อกเนลลี่ | กรรเชียงเดี่ยว ชาย | 7:10.52 | 4 R | 7:34.14 | 1 QF | 7:29.99 | 4 SC/D | 7:06.03 | 2 FC | 7:01.85 | 15 |
Qualification Legend: FA=Final A (medal); FB=Final B (non-medal); FC=Final C (non-medal); FD=Final D (non-medal); FE=Final E (non-medal); FF=Final F (non-medal); SA/B=Semifinals A/B; SC/D=Semifinals C/D; SE/F=Semifinals E/F; QF=Quarterfinals; R=Repechage
ว่ายน้ำ
แก้โมนาโกได้รับคำเชิญจาก FINA ให้ส่งนักว่ายน้ำอันดับต้นๆ สองคน (เพศละคน) ในรายการประเภทบุคคลของตนไปแข่งขันโอลิมปิก โดยยึดตามระบบคะแนนของ FINA เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2021[5]
นักกีฬา | รายการ | ฮิท | รอบรองฯ | ชิงชนะเลิศ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
เวลา | อันดับ | เวลา | อันดับ | เวลา | อันดับ | ||
ธีโอ ดรูเยน | ฟรีสไตล์ 1,500 เมตร ชาย | 16:17.20 | 28 | ไม่ผ่านเข้ารอบชิงฯ | |||
คลอเดีย แวร์ร์ดีโน | กบ 100 เมตร หญิง | DSQ | ไม่ได้ผ่านเข้ารอบ |
เทเบิลเทนนิส
แก้โมนาโกส่งนักกีฬาหนึ่งคนลงแข่งขันปิงปองเป็นครั้งแรกในโอลิมปิก เชียวซิน หยาง นักกีฬาที่เกิดในจีนคว้าชัยชนะในแมตช์ที่สี่ในรอบชิงชนะเลิศ และคว้าหนึ่งในห้าตำแหน่งที่ว่างในการแข่งขันเทเบิลเทนนิสหญิงเดี่ยวของการแข่งขันรอบคัดเลือกชิงแชมป์โลก 2021 ที่โดฮา ประเทศกาตาร์[6]
นักกีฬา | รายการ | เบื้องต้น | รอบที่ 1 | รอบที่ 2 | รอบที่ 3 | 16 คน | ก่อนรองฯ | รอบรองฯ | ชิงชนะเลิศ/ทองแดง | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
คู่แข่ง ผล |
คู่แข่ง ผล |
คู่แข่ง ผล |
คู่แข่ง ผล |
คู่แข่ง ผล |
คู่แข่ง ผล |
คู่แข่ง ผล |
คู่แข่ง ผล |
อันดับ | ||
หยาง เชียวซิน | หญิงเดี่ยว | Bye | ทริโฟโนวา (BUL) ชนะ 4–1 |
หยิ่งชา (CHN) แพ้ 0–4 |
ไม่ได้ผ่านเข้ารอบ |
อ้างอิง
แก้- ↑ "The flagbearers for the Tokyo 2020 Closing Ceremony". Olympics.com. 8 August 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 August 2021. สืบค้นเมื่อ 8 August 2021.
{{cite web}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์) - ↑ "Xiaoxin Yang, flag-bearer for the six Monégasque athletes competing at the Tokyo Olympics". monaco-tribune.com. 7 July 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 July 2021. สืบค้นเมื่อ 8 August 2021.
- ↑ "Joint Statement from the International Olympic Committee and the Tokyo 2020 Organising Committee". Olympics. 24 March 2020. สืบค้นเมื่อ 28 March 2020.
- ↑ "Road to Olympic Games 2020". World Athletics. สืบค้นเมื่อ 11 June 2021.
- ↑ "Tokyo Olympics Entry Lists Released, Swimming Begins July 24". Swimming World Magazine. สืบค้นเมื่อ 16 July 2021.
- ↑ Daish, Simon (15 March 2021). "Linda Bergström realises Olympic dream in Doha". International Table Tennis Federation. สืบค้นเมื่อ 16 March 2021.