ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล

ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มักจะถูกนิยามว่าเป็นประเทศที่ถูกปิดล้อมหรือเกือบถูกปิดล้อมด้วยแผ่นดินทั้งหมด[1][2][3][4] ในปี พ.ศ. 2554 มีทั้งหมด 45 ประเทศ การเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลนับเป็นข้อด้อยทางภูมิศาสตร์ เพราะนอกจากจะถูกปิดกั้นจากทรัพยากรทางทะเลแล้ว ยังทำให้ไม่สามารถค้าขายทางทะเลได้อีกด้วย ประเทศที่มีชายฝั่งจึงมีแนวโน้มที่จะร่ำรวยกว่าและมีประชากรมากกว่าประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล[5]

สีเขียว หมายถึง ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล
สีม่วง หมายถึง ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลที่ถูกปิดล้อมโดยประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล

นอกจากนี้ยังมีคำว่า ทะเลปิด หมายถึงทะเลที่ไม่ได้เชื่อมกับมหาสมุทร เช่น ทะเลแคสเปียน ซึ่งในบางครั้งมองเป็นทะเลสาบ

นอกจากนี้ทะเลอื่น ๆ เช่น ทะเลดำ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลบอลติก และ ทะเลแดง มีช่องทางออกสู่ทะเลน้อย

รายชื่อประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล แก้

มีชายฝั่งติดกับทะเลแคสเปียนซึ่งเป็นทะเลปิด
มีชายฝั่งติดกับทะเลอารัลซึ่งเป็นทะเลปิด
¤ ถูกล้อมรอบทุกด้านโดยประเทศเดียว
0 เป็นนครรัฐ

ประเทศที่เกือบไม่มีทางออกสู่ทะเล แก้

ประเทศต่อไปนี้มีดินแดนชายฝั่งซึ่งสั้นมาก

ประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง แก้

อ้างอิง แก้

  1. "Definition of landlocked". Merriam-Webster Online Dictionary. สืบค้นเมื่อ 2007-05-25.
  2. "Landlocked". Webster's 1913 Dictionary. สืบค้นเมื่อ 2007-05-25.
  3. "Landlocked definition". MSN Encarta Dictionary. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-11-01. สืบค้นเมื่อ 2007-05-25.
  4. "AskOxford". Compact Oxford English Dictionary. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-25. สืบค้นเมื่อ 2007-05-25.
  5. The Global Enabling Trade Report 2008 หน้า 68
  6. "Naval gazing". The Economist. 2008-07-04.