ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป

ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (อังกฤษ: European Economic Community, EEC; บ้างเรียกสั้นเพียง ประชาคมยุโรป (European Community)) เป็นองค์การระหว่างประเทศจัดตั้งขึ้นด้วยทรรศนะที่จะทำให้เกิดบูรณาการทางเศรษฐกิจ (รวมทั้งตลาดร่วม) ในบรรดาหกสมาชิกดั้งเดิมหกประเทศ ได้แก่ เบลเยียม ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี ลักเซมเบิร์ก และเนเธอร์แลนด์

ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป
ประชาคมยุโรป

ค.ศ. 1958–1993/2009
ธงชาติEEC/ECM
เพลงชาติ"โอดทูจอย" (ออร์เคสตรา)
EEC in 1993
EEC in 1993
สถานะสหภาพเศรษฐกิจ
เมืองหลวง
ภาษาทั่วไป
Commission President 
• 1958–1967
Walter Hallstein
• 1967–1970
Jean Rey
• 1970–1972
Franco Maria Malfatti
• 1972–1973
Sicco Mansholt
• 1973–1977
François-Xavier Ortoli
• 1977–1981
รอย เจนกินส์
• 1981–1985
Gaston Thorn
• 1985–1993
Jacques Delors
สภานิติบัญญัติ
ยุคประวัติศาสตร์สงครามเย็น
25 มีนาคม ค.ศ. 1957
1 มกราคม ค.ศ. 1958
1 กรกฎาคม ค.ศ. 1967
1 มกราคม ค.ศ. 1993
1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1993
1 ธันวาคม ค.ศ. 2009
สกุลเงิน
ถัดไป
สหภาพยุโรป
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ สหภาพยุโรป
¹ The information in this infobox covers the EEC's time as an independent organisation. It does not give details of post-1993 operation within the EU as that is explained in greater length in the European Union and European Communities articles.
² De facto only, these cities hosted the main institutions but were not titled as capitals.

ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปจัดตั้งขึ้นโดยสนธิสัญญาโรม พ.ศ. 2500 ร่วมกับประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้ายุโรป (ECSC) และประชาคมพลังงานปรมาณูยุโรป (EURATOM) ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปเป็นสถาบันหนึ่งในประชาคมยุโรป (European Communities) ภายใต้สนธิสัญญารวมประชาคม (Merger Treaty, หรือสนธิสัญญาบรัสเซลส์) พ.ศ. 2508

ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปถูกจัดรวมเข้ากับสหภาพยุโรปเมื่อจัดตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2536 โดยสนธิสัญญามาสตริกต์ ถูกเปลี่ยนชื่ออย่างเป็นทางการเป็น ประชาคมยุโรป เพื่อสะท้อนถึงฐานนโยบายที่กว้างกว่าที่ครอบคลุมโดยสนธิสัญญา ประชาคมฯ ได้ประกอบเป็นเสาหลักแรกของสามเสาหลักสหภาพยุโรปกระทั่งยุบไปใน พ.ศ. 2552 โดยสนธิสัญญาลิสบอน ซึ่งผนวกอดีตเสาหลักสหภาพยุโรปและให้เหตุผลว่า สหภาพยุโรปจะ "เข้าแทนที่และรับช่วงต่อประชาคมยุโรป" ข้อนี้ว่าด้วยองค์การระหว่างประเทศอิสระซึ่งมีอยู่ก่อน พ.ศ. 2536

สมาชิก

แก้
 
  สมาชิกผู้ก่อตั้ง
  สมาชิกภายหลัง
สมาชิก เข้าร่วม ภาษา สกุลเงิน ประชากร
(1990)[2]
  เบลเยียม 25 มีนาคม 1957 ดัตช์, ฝรั่งเศส และ เยอรมัน ฟรังก์เบลเยียม[note 1] 10,016,000
  ฝรั่งเศส 25 มีนาคม 1957 ฝรั่งเศส ฟรังก์ฝรั่งเศส 56,718,000
  เยอรมนี 25 มีนาคม 1957 เยอรมัน มาร์คเยอรมัน 63,254,000[note 2]
  อิตาลี 25 มีนาคม 1957 อิตาลี ลีร์อิตาลี 56,762,700
  ลักเซมเบิร์ก 25 มีนาคม 1957 ฝรั่งเศส, เยอรมัน และ ลักเซมเบิร์ก ฟรังก์ลักเซมเบิร์ก[note 1] 384,400
  เนเธอร์แลนด์ 25 มีนาคม 1957 ดัตช์ และ ฟรีเซียน กิลเดอร์ดัตช์ 14,892,300
  เดนมาร์ก 1 มกราคม 1973 เดนมาร์ก โครนเดนมาร์ก 5,146,500
  ไอร์แลนด์ 1 มกราคม 1973 ไอริช และ อังกฤษ ปอนด์ไอริช 3,521,000
  สหราชอาณาจักร 1 มกราคม 1973 อังกฤษ ปอนด์สเตอร์ลิง 57,681,000
  กรีซ 1 มกราคม 1981 กรีก ดรัคม่ากรีก 10,120,000
  โปรตุเกส 1 มกราคม 1986 โปรตุเกส เอสคูโดโปรตุเกส 9,862,500
  สเปน 1 มกราคม 1986 สเปน[note 3] เปเซตาสเปน 38,993,800

ประวัติ

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้
  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ emblem
  2. Data from Populstat.info เก็บถาวร 2018-09-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "note" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="note"/> ที่สอดคล้องกัน