ปฏิบัติการเสรีภาพยั่งยืน

ปฏิบัติการเสรีภาพยั่งยืน (Operation Enduring Freedom - OEF) เป็นรหัสนามที่ถูกใช้อย่างเป็นทางการโดยรัฐบาลสหรัฐสำหรับสงครามต่อต้านการก่อการร้ายทั่วโลก เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม ค.ศ. 2001 ในการตอบโต้ต่อเหตุการณ์วินาศกรรม 11 กันยายน ประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิลยู. บุช ได้ประกาศว่าการโจมตีทางอากาศได้กำหนดเป้าหมายไปที่กลุ่มอัลกออิดะฮ์และกลุ่มตอลิบานได้เริ่มขึ้นในอัฟกานิสถาน ปฏิบัติการเอ็นดูริง ฟรีดอมส่วนใหญ่หมายถึงสงครามในอัฟกานิสถาน[10][11] แต่มันก็มีส่วนที่เกี่ยวข้องกับปฏิบัติการต่อต้านการก่อการร้ายในประเทศอื่น ๆ เช่น ปฏิบัติการเสรีภาพยั่งยืนในฟิลิปปินส์ (OEF-Philippines) และปฏิบัติการเสรีภาพยั่งยืนในทะเลทรายซาฮารา (OEF-Trans Sahara)[12][13]

ปฏิบัติการเสรีภาพยั่งยืน
ส่วนหนึ่งของ สงครามต่อต้านการก่อการร้าย
วันที่7 ตุลาคม ค.ศ. 2001 – 28 ธันวาคม ค.ศ. 2014[2][3]
(13 ปี 2 เดือน 3 สัปดาห์)
สถานที่
สถานะ

ปฏิบัติการสิ้นสุดลง; ความขัดแย้งอย่างต่อเนื่อง

คู่สงคราม

ในอัฟกานิสถาน: (เสร็จสมบูรณ์)

In the Philippines: (completed)

In Somalia/Horn of Africa:

In Georgia: (completed)

In Kyrgyzstan: (completed)

Other nations

อัฟกานิสถาน In Afghanistan:

ฟิลิปปินส์ In the Philippines:

โซมาเลีย In Somalia:

In Sahara:

ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
สหรัฐ GEN Tommy Franks (2001–2003)
สหรัฐ GEN John Abizaid (2003–2007)
สหรัฐ ADM William J. Fallon (2007–2008)
สหรัฐ LTG Martin Dempsey (2008–2015)
สหราชอาณาจักร MRAF Sir Graham Stirrup (2003–2011)
สหรัฐ GEN David Petraeus (2008–2010)
อัฟกานิสถาน Mohammed Omar 
Osama bin Laden 
Ayman al-Zawahiri
Khadaffy Janjalani 
Riduan Isamuddin (เชลย)
ความสูญเสีย

อัฟกานิสถาน 45,000+ killed
สหรัฐ 2,438 killed[4]
(2,414 in Afghanistan, 17 in the Philippines, 5 in Niger, 2 in Somalia)
สหราชอาณาจักร 456 killed[4]
แคนาดา 158 killed[4]
ฝรั่งเศส 89 killed[4]

เยอรมนี 57 killed[4]
อิตาลี 53 killed[4]
เดนมาร์ก 43 killed[4]
ออสเตรเลีย 41 killed[4]
โปแลนด์ 40 killed[4]
สเปน 34 killed[4]
ประเทศจอร์เจีย 32 killed[5]
Others 200+ killed[4]

อัฟกานิสถาน In Afghanistan:

  • 72,000+ killed[6]

ฟิลิปปินส์ In the Philippines:

โซมาเลีย In Somalia:

ภายหลังสิบสามปี วันที่ 28 ธันวาคม ค.ศ. 2014 ประธานาธิบดีบารัก โอบามา ได้ประกาศถึงจุดสิ้นสุดของปฏิบัติการเสรีภาพยั่งยืนในอัฟกานิสถาน[14] ปฏิบัติการที่ยังคงดำเนินต่อไปในอัฟกานิสถานโดยกองทัพสหรัฐ ทั้งไม่ใช่การสู้รบและการสู้รบ ปัจจุบันเกิดขึ้นภายใต้รหัสนามว่า ปฏิบัติการฟรีดอมเซนติเนล[15]

อ้างอิง แก้

  1. Philippines, AU: Embassy, เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 November 2013, สืบค้นเมื่อ 7 October 2013.
  2. Torreon, Barbara Salazar (2017). U.S. Periods of War and Dates of Recent Conflicts (PDF). Washington, D.C.: Congressional Research Service. p. 7. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 28 March 2015. สืบค้นเมื่อ 3 May 2018.
  3. "Operation Enduring Freedom". Naval History and Heritage Command, United States Navy. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 November 2018. สืบค้นเมื่อ 2018-05-03.
  4. 4.00 4.01 4.02 4.03 4.04 4.05 4.06 4.07 4.08 4.09 4.10 "Operation Enduring Freedom, Afghanistan". ICasualties.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 มกราคม 2016. สืบค้นเมื่อ 29 มกราคม 2016.
  5. "Archived copy". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 February 2018. สืบค้นเมื่อ 8 March 2018.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  6. "How many terrorists has President Obama actually 'taken out'? Probably over 30,000". the Washington post. 7 December 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 March 2016. สืบค้นเมื่อ 10 February 2016.
  7. 300 killed (2002–2007)[1] เก็บถาวร 7 มีนาคม 2016 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน 15 killed (February 2012)[2] เก็บถาวร 29 กุมภาพันธ์ 2012 ที่ Library of Congress Web Archives
  8. "The Bureau of Investigative Journalism" เก็บถาวร 8 มิถุนายน 2015 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Somalia Datasheet. Retrieved 4 February 2016.
  9. Cooper, Helene. ""US Strikes Kill 150 Shabab fighters in Somalia, officials say". Washington Post. 7 March 2016. "American warplanes on Saturday struck a training camp in Somalia belonging to the Islamist militant group the Shabab, the Pentagon said, killing about 150 fighters who United States officials said were preparing an attack against American troops and their regional allies in East Africa." เก็บถาวร 17 กุมภาพันธ์ 2017 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  10. Philipps, Dave (31 December 2014). "Mission Ends in Afghanistan, but Sacrifices Are Not Over for U.S. Soldiers". The New York Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 August 2017. สืบค้นเมื่อ 17 August 2017.
  11. Dempsey, Judy (20 July 2005). "NATO to add to Afghanistan troops". The New York Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 August 2017. สืบค้นเมื่อ 17 August 2017.
  12. "Helping Georgia?". Boston University Institute for the Study of Conflict, Ideology and Policy. March–April 2002. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 September 2006. สืบค้นเมื่อ 14 February 2007.
  13. Lamothe, Dan (December 29, 2014). "Meet Operation Freedom's Sentinel, the Pentagon's new mission in Afghanistan". The Washington Post. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 October 2017. สืบค้นเมื่อ 17 August 2017.
  14. DOD News, Defense Media Activity (December 29, 2014). "Operation Enduring Freedom comes to an end". U.S. Army (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 August 2017. สืบค้นเมื่อ 17 August 2017.
  15. Tilghman, Andrew (19 February 2015). "Despite war's end, Pentagon extends Afghanistan campaign medal". MilitaryTimes. Gannett. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 February 2015. สืบค้นเมื่อ 28 February 2015.Sisk, Richard (29 December 2014). "Amid Confusion, DoD Names New Mission 'Operation Freedom's Sentinel'". Military.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 February 2015. สืบค้นเมื่อ 28 February 2015.Rosenberg, Matthew; Scmitt, Eric; Mazzetti, Mark (12 February 2015). "U.S. Is Escalating a Secretive War in Afghanistan". New York Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 February 2015. สืบค้นเมื่อ 28 February 2015.