ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520

ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520 เป็น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 12 ได้ประกาศใช้ใน ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 ภายหลังจากการ ปฏิวัติยึดอำนาจจากรัฐบาลนาย ธานินทร์ กรัยวิเชียร โดย พลเรือเอก สงัด ชลออยู่ หัวหน้า คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 เป็นผลสำเร็จซึ่งหลังจากนั้น อีก 2 วันคือวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ เลขาธิการ คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน และ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ได้รับการแต่งตั้ง เป็น นายกรัฐมนตรี

ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร
พุทธศักราช 2520
หน้าแรกของธรรมนูญ
ภาพรวม
ท้องที่ใช้ประเทศไทย ราชอาณาจักรไทย
สร้างขึ้น9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520[1]
เสนอ9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520[1]
วันประกาศ9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520[1]
มีผลใช้บังคับ9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520[1]
ระบบรัฐเดี่ยว ระบบรัฐสภา ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
โดยพฤตินัย เผด็จการทหาร
โครงสร้างรัฐบาล
ฝ่าย3
ประมุขแห่งรัฐพระมหากษัตริย์
ฝ่ายนิติบัญญัติสภาเดียว (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ)
ฝ่ายบริหารคณะรัฐมนตรี, นำโดย นายกรัฐมนตรี
สภานโยบายแห่งชาติ, นำโดย ประธานสภานโยบายแห่งชาติ
ฝ่ายตุลาการศาลไทย
ระบอบรัฐเดี่ยว
คณะผู้เลือกตั้งไม่มี
นิติบัญญัติชุดแรก15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520
บริหารชุดแรก11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520
ตุลาการชุดแรก1 ตุลาคม พ.ศ. 2521
ยกเลิก22 ธันวาคม พ.ศ. 2521
ผู้ยกร่างคณะปฏิวัติ
ผู้ลงนามภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ฉบับก่อนหน้ารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2519
เอกสารฉบับเต็ม
ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520 ที่วิกิซอร์ซ

ธรรมนูญฉบับนี้ได้บัญญัติไว้ทั้งสิ้น 32 มาตราและได้นำรัฐธรรมนูญมาตรา 17 สมัยจอมพลสฤษดิ์กลับมาใช้

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 ราชกิจจานุเบกษา, ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช ๒๕๒๐, เล่ม ๙๔ ตอนที่ ๑๑๑ ก ฉบับพิเศษ หน้า ๑, ๙ พฤศจิกายน ๒๕๒๐