ธงชาติเวลส์
บทความนี้ได้รับแจ้งให้ปรับปรุงหลายข้อ กรุณาช่วยปรับปรุงบทความ หรืออภิปรายปัญหาที่หน้าอภิปราย
|
ธงชาติเวลส์ ใช้ธงแถบเขียวขาว เป็นสีประจำชาติของแคว้นเวลส์ซึ่งมาจากลีเวลลินล์ แห่งราชวงศ์ทิวดอร์ โดยเรียงแถบสีดังนี้คือ แถบบน สีขาว และ แถบล่าง สีเขียว ตรงกลางผืนธงมีรูปตรามังกรสีแดง
การใช้ | ธงชาติ |
---|---|
สัดส่วนธง | 3:5 |
ประกาศใช้ | ค.ศ. 1959 (แบบธงที่ใช้ในปัจจุบัน) |
ลักษณะ | แถบบน สีขาว และ แถบล่าง สีเขียว ตรงกลางผืนธงมีรูปตรามังกรสีแดง |
มังกรสีแดงแห่งเวลส์
แก้สมัยโบราณ
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ตรามังกรสีแดง มีมาตั้งแต่ในสมัยศตวรรษที่4 และในสมัยศตวรรษที่7 เจ้าชายกั๊ดวัลลาร์แห่งกิวเนส ได้ใช้ตรา นี้เป็นตราประจำราชวงศ์ของเวลส์
สมัยใหม่
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ตรามังกรสีแดงบนภูเขาสีเขียว ประกาศใช้เป็นตราแผ่นดินของเวลส์ ตั้งแต่ ค.ศ. 1807,[1] ต่อมาได้เพิ่มคำขวัญประกอบตราแผ่นดิน ความว่า Y Ddraig goch ddyry cychwyn ('The red dragon gives impetus' หรือ 'มังกรสีแดงชี้นำทาง') คำขวัญดังกล่าวมีที่มาจากวรรคหนึ่งในบทกวีที่มีชื่อว่า Deio ab Ieuan Du. เมื่อวันที่ 11 มีนาคม ค.ศ. 1953[2] ตราแผ่นดินในห้วงเวลาดังกล่าว[3] โดยปรากฏบนธงชาติที่บังคับใช่เมื่อ ค.ศ. 1953–1959. แบบธงชาติที่บังคับใช้ในปัจจุบัน ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อ ค.ศ. 1959[4][5]
-
ธงชาติเวลส์ ค.ศ. 1807–1953.
-
ธงชาติเวลส์ ค.ศ. 1953–1959
-
ธง Puerto Madryn และ Y Wladfa.
ธงกางเขนนักบุญเดวิด
แก้ธงกางเขนนักบุญเดวิด มีลักษณะเป็นกากบาทสีเหลือง บนพื้นสีดำ อันเป็นสัญลักษณ์ของDiocese of St David's รวมถึงการประดับธงผืนนี้ในวันนักบุญเดวิด. ภายหลังธงกางเขนนักบุญเดวิดใช้เป็นสัญลักษณ์ของ ขบวนการชาตินิยมเวลส์.[ต้องการอ้างอิง] บางองค์กร เช่น พรรคคริสเตียน ใช้ธงรูปมังกรแดงบนธงกางเขนนักบุญเดวิด.[6]
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อDavies732
- ↑ Origin of Y Ddraig Goch เก็บถาวร 11 มิถุนายน 2010 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Flags of the World
- ↑ "Wales: History of Welsh Flags".
- ↑ Barraclough, EMC. Flags of the World, 1965.
- ↑ "WELSH FLAG (Hansard, 23 February 1959)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-05-06. สืบค้นเมื่อ 2018-11-30.
- ↑ "Christian group wants 'evil' Welsh flag changed". Walesonline.co.uk. 3 March 2007. สืบค้นเมื่อ 12 December 2017.
บรรณานุกรม
แก้- Davies, John; Jenkins, Nigel (2008). The Welsh Academy Encyclopaedia of Wales. Cardiff: University of Wales Press. ISBN 978-0-7083-1953-6.
- Eriksen, Thomas; Jenkins, Richard (2007). Flag, nation and symbolism in Europe and America (1. publ. ed.). London: Routledge. p. 80. ISBN 9780415444040.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- HiJack เก็บถาวร 2013-12-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, an article addressing the question of why Wales has no explicit symbolic representation on the Union Flag.
- Wales ที่ Flags of the World (อังกฤษ)