ท่านผู้หญิงวิระยา ชวกุล (ชื่อเล่น: น้อย;[1][2] เกิด: 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477) เป็นกรรมการของมูลนิธิในพระราชินูปถัมภ์หลายแห่ง และปรากฏบทบาททางการเมือง[3]


วิระยา ชวกุล

เกิด28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477 (90 ปี)
กรุงเทพมหานคร
คู่สมรสสมพล บุนนาค (หย่า)
บุพการีสมุย ชวกุล (บิดา)
อร่าม ชวกุล (มารดา)
เว็บไซต์http://www.tpy-viraya.org

ประวัติ แก้

ท่านผู้หญิงวิระยา ชวกุล เกิดเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477 ณ กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรคนที่สองจากทั้งหมดสี่คนของสมุย ชวกุล กับอร่าม (สกุลเดิม: กิจจาทร) มีพี่น้องคือ พลโท ทวิชาติ ชวกุล, ท่านผู้หญิงอรสา ล่ำซำ และปฏินันท์ ชวกุล[3]

วิระยาสมรสกับสมพล บุนนาค ภายหลังได้หย่ากัน ต่อมาเธอได้อยู่กินกับสุเมธ ยุกตะเสวี ซึ่งภายหลังก็เลิกรากัน[3] ทั้งนี้เธอมีความสนิทสนมกับหม่อมหลวงบัว กิติยากร และท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์[4] รวมทั้งครอบครัวของทักษิณ ชินวัตร และคุณหญิงพจมาน อดีตภริยา[2]

วิระยาสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย, ระดับอนุปริญญา สาขาบริหารธุรกิจ จากวิทยาลัยเดอะเมโทรโพลิทัน (The Metropolitan College) กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร, ระดับปริญญาตรีรัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง, สังคมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยมหิดล และวุฒิบัตรหลักสูตรการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า[5]

หน้าที่การงาน แก้

ปัจจุบัน แก้

ตำแหน่งหน้าที่งานในปัจจุบัน[6]

อดีต แก้

ตำแหน่งหน้าที่งานในอดีต[7]

บทบาททางการเมือง แก้

ท่านผู้หญิง วิระยา ชวกุล เข้ามามีบทบาทเกี่ยวข้องกับการเมืองโดยการขึ้นเวทีปราศัยของกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.) เมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2553 [8]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ แก้

อ้างอิง แก้

  1. "ทักษิณจงรักภักดีแต่ไม่รู้กาลเทศะ". คมชัดลึก. 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2552. สืบค้นเมื่อ 18 ตุลาคม 2557. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)[ลิงก์เสีย]
  2. 2.0 2.1 "ทำไม ทักษิณ จำวันครบรอบวันเกิด "พี่น้อย" ท่านผู้หญิงวิระยา..ไม่เคยลืม". มติชนออนไลน์. 3 มีนาคม 2556. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. 3.0 3.1 3.2 "ท่านผู้หญิงวิระยา ชวกุล". ไทยรัฐออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  4. ""ท่านผู้หญิงวิระยา ชวกุล" มองความผิดกาลเทศะของ "เสธ.อ้าย" และเหตุใด "ไพร่" จึงเป็นคำ "โก้"". มติชนออนไลน์. 6 ธันวาคม พ.ศ. 2555. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  5. ประวัติท่านผู้หญิงวิระยา ชวกุล เก็บถาวร 2009-04-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จากเว็บไซต์ท่านผู้หญิงวิระยาฯ
  6. ตำแหน่งหน้าที่ปัจจุบัน เก็บถาวร 2009-05-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จากเว็บไซต์ท่านผู้หญิงวิระยาฯ
  7. ตำแหน่งหน้าที่ในอดีต เก็บถาวร 2009-04-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จากเว็บไซต์ท่านผู้หญิงวิระยาฯ
  8. 'วิระยา'ขึ้นเวทีแดงโชว์รวย-'จุตพร'ประกาศชัยชนะ
  9. "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสายสะพาย ประจำปี 2546" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 120 (19ข): 8 (เล่มที่ 1). 1 ธันวาคม 2546. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-09-20. สืบค้นเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2564. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  10. "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสายสะพาย ประจำปี 2539" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 113 (22ข): 19. 4 ธันวาคม 2539. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-04-13. สืบค้นเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2564. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  11. "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นสายสะพายและชั้นต่ำกว่าสายสะพาย ประจำปี 2545" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 119 (22ข): 2. 4 ธันวาคม 2545. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-10-25. สืบค้นเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2564. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  12. "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ประจำปี 2534" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 108 (78ง ฉบับพิเศษ): 5. 3 พฤษภาคม 2534. สืบค้นเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2564. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  13. "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เหรียญรัตนาภรณ์" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 108 (166ง ฉบับพิเศษ): 27. 20 กันยายน 2534. สืบค้นเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2564. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น แก้