ทางรถไฟสายเหนือ-ใต้ (ประเทศเวียดนาม)

ทางรถไฟสายเหนือ-ใต้ (เวียดนาม: Đường sắt Bắc–Nam, ฝรั่งเศส: Chemin de fer Nord-Sud) เป็นเส้นทางรถไฟสายหลักที่สำคัญของประเทศเวียดนาม เป็นรางมีเตอร์เกจ และเป็นทางเดี่ยวตลอดสาย เชื่อมต่อระหว่างเมืองฮานอยทางตอนเหนือ และเมืองโฮจิมินห์ซิตีทางตอนใต้ รวมระยะทางทั้งหมด 1,726 km (1,072 mi) มักเรียกในชื่อหนึ่งส่า ขบวนรถด่วนแห่งการรวมชาติ ซึ่งอาจหมายถึงการรวมชาติของเวียดนามเหนือและเวียดนามใต้[1] ก่อสร้างระหว่าง ค.ศ. 1899 ถึง ค.ศ. 1936 มีสถานีรถไฟทั้งหมด 191 สถานี[2][3]

ทางรถไฟสายเหนือ-ใต้
A train stopped at a station on the North–South Railway, Vietnam
ข้อมูลทั่วไป
เจ้าของการรถไฟเวียดนาม
ที่ตั้งเวียดนาม
ปลายทาง
การดำเนินงาน
รูปแบบรถไฟรางหนัก
ประวัติ
เปิดเมื่อค.ศ. 1936
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง1,726 km (1,072 mi)
รางกว้าง1,000 mm (3 ft 3 38 in)

ภาพรวม

แก้
 
ขบวนรถไฟวิ่งผ่านลังโก

ทางรถไฟสายเหนือ-ใต้ มีระยะทาง 1,726 km (1,072 mi) เป็นรางมีเตอร์เกจ

ขบวนรถโดยสาร

แก้
หมายเลขขบวน ประเภท ต้นทาง ปลายทาง เวลาที่ใช้ในการเดินทาง หมายเหตุ
SE1/SE2 รถด่วน ฮานอย โฮจิมินห์ซิตี 34 ชั่วโมง 40 นาที หยุดรับส่งผู้โดยสารที่สถานีนามดิ่ญ ทัญฮว้า วิญ ด่งเฮ้ย ดงห่า เว้ ลังโก ดานัง ตามกี่ กว๋างหงาย เซียวจี่ ตวีฮว้า ญาจาง ท้าปจ่าม และเมืองม้าน
SE3/SE4 รถด่วน ฮานอย โฮจิมินห์ซิตี 29 ชั่วโมง 30 นาที หยุดรับส่งผู้โดยสารที่สถานีวิญ ด่งเฮ้ย เว้ ดานัง เซียวจี่ และญาจาง
SE5/SE6 รถด่วน ฮานอย โฮจิมินห์ซิตี 32 ชั่วโมง หยุดรับส่งผู้โดยสารที่สถานีฝูลี้ นามดิ่ญ นิญบิ่ญ ทัญฮว้า วิญ ด่งเฮ้ย เว้ ดานัง กว๋างหงาย เซียวจี่ ญาจาง ท้าปจ่าม เมืองม้าน และเบียนฮว้า
TN1/TN2 รถธรรมดา ฮานอย โฮจิมินห์ซิตี 40 ชั่วโมง 50 นาที
TN3/TN4 รถธรรมดา ฮานอย โฮจิมินห์ซิตี 40 ชั่วโมง 45 นาที
TN5/TN6 รถธรรมดา ฮานอย โฮจิมินห์ซิตี 40 ชั่วโมง 10 นาที
TN7/TN8 รถธรรมดา ฮานอย โฮจิมินห์ซิตี 40 ชั่วโมง 25 นาที
NA1/NA2 รถธรรมดา ฮานอย วิญ
NA3/NA4 รถธรรมดา ฮานอย วิญ
TH1/TH2 รถธรรมดา ซ้าปบ๊าต ทัญฮว้า
VD31/VD32 รถธรรมดา วิญ ด่งเฮ้ย
DH41/DH42 รถธรรมดา ด่งเฮ้ย เว้
VQ1/VQ2 รถธรรมดา วิญ กวีเญิน

ขบวนรถสินค้า

แก้
หมายเลขขบวน ต้นทาง ปลายทาง หมายเหตุ
GS1/GS2 ซ้าปบ๊าต (ฮานอย) ซ้งถ่าน (โฮจิมินห์ซิตี) ใช้เวลาเดินทาง 4 วัน
SBN1/SBN2 ซ้าปบ๊าต (ฮานอย) ซ้งถ่าน (โฮจิมินห์ซิตี) ใช้เวลาเดินทาง 4 วัน
HBN1/HBN2 ซ้าปบ๊าต (ฮานอย) ซ้งถ่าน (โฮจิมินห์ซิตี)
HBN3/HBN4 ซ้าปบ๊าต (ฮานอย) ซ้งถ่าน (โฮจิมินห์ซิตี)
SY1/SY2 Yen Vien (Hanoi) ซ้งถ่าน (โฮจิมินห์ซิตี)
SY1/SY2 Yen Vien (Hanoi) ซ้งถ่าน (โฮจิมินห์ซิตี)
HSD1/HSD2 Da Nang Ho Chi Minh City
HSK1/HSK2 Kim Lien (Da Nang) ซ้งถ่าน (โฮจิมินห์ซิตี)

ประวัติ

แก้
 
ความก้าวหน้าของเส้นทาง

สถานีรถไฟ

แก้

รายชื่อสถานี

แก้

จำนวน 191 สถานี[2][3]

กม. สถานี ภูมิภาค จังหวัด ที่อยู่ เปิดให้บริการ หมายเหตุ ภาพ
0 ฮานอย ดินดอนสามเหลี่ยม
ปากแม่น้ำแดง
 
ฮานอย เขตฮหว่านเกี๊ยม 1902[4] สามารถเปลี่ยนเส้นทางไปยังสายฮานอย-ไฮฟอง สายฮานอย-ท้ายเงวียน สายฮานอย-หล่าวกาย และสายฮานอย-ด่งดัง  
5 ซ้าปบ๊าต ดินดอนสามเหลี่ยม
ปากแม่น้ำแดง
ฮานอย เขตฮว้างมาย สถานีขนส่งสินค้า Photo เก็บถาวร 2011-09-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
56 ฝูลี้ ดินดอนสามเหลี่ยม
ปากแม่น้ำแดง
ห่านาม ฝูลี้  
87 นามดิ่ญ ดินดอนสามเหลี่ยม
ปากแม่น้ำแดง
นามดิ่ญ นามดิ่ญ Photo
115 นิญบิ่ญ ดินดอนสามเหลี่ยม
ปากแม่น้ำแดง
นิญบิ่ญ นิญบิ่ญ  
176 ทัญฮว้า ชายฝั่งตอนกลางเหนือ ทัญฮว้า ทัญฮว้า Photo
319 วิญ ชายฝั่งตอนกลางเหนือ เหงะอาน วิญ 1905[5]  
522 ด่งเฮ้ย ชายฝั่งตอนกลางเหนือ กว๋างบิ่ญ ด่งเฮ้ย  
622 ดงห่า ชายฝั่งตอนกลางเหนือ กว๋างจิ ดงห่า  
688 เว้ ชายฝั่งตอนกลางเหนือ เถื่อเทียนเว้ เว้ 1906[6]  
777 กิมเลียน ชายฝั่งตอนกลางใต้ ดานัง สถานีขนส่งสินค้า Photo
791 ดานัง ชายฝั่งตอนกลางใต้ ดานัง Thanh Khe District 1902[7]  
865 ตามกี่ ชายฝั่งตอนกลางใต้ กว๋างนาม ตามกี่  
928 กว๋างหงาย ชายฝั่งตอนกลางใต้ กว๋างหงาย กว๋างหงาย  
1096 เซียวจี่ ชายฝั่งตอนกลางใต้ บิ่ญดิ่ญ เซียวจี่ อำเภอตวีเฟื้อก สามารถเดินทางต่อไปยังกวีเญิน  
1096* กวีเญิน ชายฝั่งตอนกลางใต้ บิ่ญดิ่ญ กวีเญิน  
1198 ตวีฮว้า ชายฝั่งตอนกลางใต้ ฟู้เอียน ตวีฮว้า  
1315 ญาจาง ชายฝั่งตอนกลางใต้ คั้ญฮหว่า ญาจาง  
1408 ท้าปจ่าม ภาคตะวันออกเฉียงใต้ นิญถ่วน ฟานซาง-ท้าปจ่าม สามารถเปลี่ยนเส้นทางไปยังสายด่าหลัต-ท้าปจ่าม[nb 1]  
1551 บิ่ญถ่วน ภาคตะวันออกเฉียงใต้ บิ่ญถ่วน เมืองม้าน สามารถเดินทางต่อไปยังฟานเที้ยต  
1697 เบียนฮว้า ภาคตะวันออกเฉียงใต้ ด่งนาย เบียนฮว้า Photo[ลิงก์เสีย]
1711 ซ้งถ่าน ภาคตะวันออกเฉียงใต้ นครโฮจิมินห์ อันบิ่ญ อำเภอสีอัน สถานีขนส่งสินค้า Photo
1726 ไซ่ง่อน ภาคตะวันออกเฉียงใต้ นครโฮจิมินห์  Ward 9, District 3 1983[nb 2]  

โครงสร้าง

แก้

ราง

แก้

ใช้รางมีเตอร์เกจ[8][9]

สะพาน

แก้

มีสะพานทั้งหมด 1,300 แห่ง รวมระยะทางบนสะพานเป็น 28,000 m (92,000 ft) หรือ 63% ของเส้นทางทั้งหมด

อุโมงค์

แก้
รถไฟเวียดนามลอดอุโมงค์

มีอุโมงค์ทั้งหมด 27 แห่ง รวมระยะทาง 8,335 m (27,346 ft)

การพัฒนา

แก้
 
ระบบรถไฟที่จะนำมาใช้ ในภาพเป็นรถไฟความเร็วสูงของไต้หวัน

รถไฟความเร็วสูง

แก้

ระเบียงภาพ

แก้

ดูเพิ่ม

แก้

หมายเหตุ

แก้
  1. Defunct or partially defunct line.
  2. The original Saigon Station, located at Bến Thành Market, was built in 1881. ("120-Year History of Vietnam Railways". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-29. สืบค้นเมื่อ 2010-07-22.) The station currently in use as "Saigon Railway Station", located in Ho Chi Minh City's District 3, was originally known as Hoa Hung Depot, and was used mainly as a freight station; it was converted for use as a passenger station in 1983. ("Ga Sài Gòn". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-05-05. สืบค้นเมื่อ 2010-06-30. (เวียดนาม))

อ้างอิง

แก้
  1. "Train travel in Vietnam". Seat61. สืบค้นเมื่อ 22 June 2010.
  2. 2.0 2.1 "Infrastructure Maintenance and Construction". Vietnam Railways. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-04-14. สืบค้นเมื่อ 2010-06-24.
  3. 3.0 3.1 "Các ga trên tuyến đường sắt Thống Nhất" (Railway stations on the North–South Railway), Page 1 เก็บถาวร 2011-01-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีนPage 2 เก็บถาวร 2011-01-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (เวียดนาม)
  4. "Ga Hà Nội ngày ấy, bây giờ..." คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-12-14. สืบค้นเมื่อ 2010-06-30. (เวียดนาม)
  5. "Ga Vinh, truyền thống và hiện đại". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-12-14. สืบค้นเมื่อ 2010-06-30. (เวียดนาม)
  6. "100 năm ga Huế (100 years of Hue Railway Station)". 2006-12-16. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-08-09. สืบค้นเมื่อ 2010-07-20. (เวียดนาม)
  7. "Ga Đà Nẵng". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-03-30. สืบค้นเมื่อ 2010-06-30. (เวียดนาม)
  8. "Railway Network". Vietnam Railways. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-04-18. สืบค้นเมื่อ 2010-06-29.
  9. de Dieuleveult, Alain; Harouy, Michel (1988). Quand les petits trains faisaient la Manche ("When small trains crossed the Channel") (ภาษาฝรั่งเศส). Le Mans: Éditions Cénomane. ISBN 2-905596-29-5.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้