ตัจญ์วีด
ตัจญ์วีด ตามความหมายในพจนานุกรม หมายถึง ความสมบูรณ์ การชื่นชม การทำดี แต่ความหมายตามวิชาการ หมายถึง หลักการและกฎเกณฑ์ที่ช่วยในการอ่านอัลกุรอานให้ดียิ่งขึ้น ตัจญ์วีด จะนำเสนอเกี่ยวกับวิธีการออกเสียงอักขระอย่างถูกต้องจากตำแหน่งฐานของการเปล่งเสียง คุณสมบัติของเสียงแต่ละอักขระหรือเมื่อมันผสมกับพญชยัญชนะอื่น อีกกฎเกณฑ์หนึ่งที่สำคัญ คือ การหยุดอ่านและการอ่านเชื่อมต่อประโยคของอัลกุรอานตามสัญลักษณ์และความหมายของโองการ[1]
อัลกุรอานจะถูกอ่านตามหลักการอ่านทั้งเจ็ดอันเป็นที่รู้จักกัน แต่การอ่านของท่าน ฮัฟศ์ ที่รายงานจากท่านอาซิม[2] เป็นการอ่านที่น่าเชื่อถือและถูกรู้จักกันในโลกอิสลาม[3] สามารถแบ่งตัจญ์ออกเป็นสองภาค คือ ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ตัจญ์วีดภาคทฤษฎี หมายรวมถึงประมวลหลักการอ่านและกฎเกณฑ์ต่างๆ ซึ่งบรรดานักวิชาการมุสลิมได้วางกฎเกณฑ์ไว้เพื่อจะได้อ่านออกเสียงตัวพยัญชนะและคำของอัลกุรอานได้อย่างถูกต้อง เช่น เรื่องตำแหน่งฐานของการเปล่งแต่ละอักขระ คุณสมบัติของพยัญชนะต่างๆ พยัญชนะที่ออกเสียงบาง พยัญชนะที่ออกเสียงหนา การควบพยัญชนะ (อิดฆอม) พยัญชนะที่ออกเสียงลากยาว พยัญชนะที่ออกเสียงสั้น และเนื้อหาอื่นๆในลักษณะนี้ ส่วนตัจญ์วีดภาคปฏิบัติ หมายถึง เทคนิคและศิลปะในการอ่านอัลกุรอานบนพื้นฐานการออกเสียงพยัญชนะที่ถูกต้อง ด้วยสำเนียงอาหรับที่ชัดเจน ในภาคนี้ขึ้นอยู่กับการฝึกซ้อม ตัจญ์วีด เป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่นักอ่าน (กอรี) ต้องฝึกฝนจนชำนาญ [4]
หลายศตวรรษที่ผ่านมา อิหร่าน และ อินเดีย จะมีการร้องบทสวดมนต์และบทสรรเสริญ จริงแล้วคำว่า جاد (เป็นรากศัพท์ของคำว่า تجویدي) เป็นคำที่ถูกทำให้เป็นภาษาอาหรับจากคำว่า گات และ گاث ก็หมายถึงการอ่านด้วยเปล่งเสียงอันไพเราะนั่นเอง, รวดมนต์และเคร่งศาสนา hymns กับกระพือแรงมากเลย\n หรือเพลงใช้แล้ว ความจริงนั่นคือคำ Judd(root Tajweed)อีกคนประตูคือ گاث หมายถึงอ่านเพลง Tajweed มันเป็นส่วนหนึ่งขอน่ะหนังเหนียวจะส่วนใหญ่วิทยาศาสตร์คือคิดอะไรใช้ได้เหมือนกันแต่ใครก็ตามที่พยายามและการกระทำได้มันต้องใช้;อ่านหนังสือดีหาก[5]
ในความสำคัญของวิทยาศาสตร์ของ Tajweed ในตีความแบบนั้นของท่องคาถาไล่ปิศาจ"นอกนะ ورتل القرءان ลังกินทอร์เทียล่าอ"(Surah muzammil/۷۳ ที่ ۴)Imam อัลลี่บอกว่า:"الترتیل Tajweed จดหมายและ معرفة الوقوف"หรือ"ทำให้ الوقوف และแสดงจดหมาย"สิ[6]
เครื่องหมายและรูปแบบต่างๆของตัจญ์ในกุรอาน
เครื่องหมายและรูปแบบต่างๆ มีรายละเอียดดังนี้:
1. สระ ( ฟัตหะฮ์ ฎอมมะฮ์ กัสเราะฮ์ รอฟอ์ นัศบ์ ญัร อะลิฟมัดดี ยามัดดี วาวมัดดี สุกูน)
2. เครื่องหมายการเว้นวรรค ( م หมายถึงจำเป็นต้องหยุด قلی หมายถึงเว้นวรรคดีกว่า صلی หมายถึงอ่านต่อดีกว่า جหมายถึงอนุญาตให้เว้นวรรค
3. เครื่องหมายของหลักการอ่าน ( มัด ชัดดะฮ์ วัศล์ อิชบาอ์ อิมาละฮ์ ฆุนนะฮ์ สักต์ อิดฆอม อิซฮาร อิคฟา อิกล๊าบ พยัญชนะที่ไม่อ่านออกเสียง) เครื่องหมายที่ใช้กันในอดีต ได้แก่
กอฟฟะฮ์ ط หมายถึงเว้นวรรคอย่างสมบูรณ์ ک หมายถึง เพียงพอ ز -ص-ق- وجه หมายถึง (ดี) صل หมายถึง ( ไม่ดี) صب หมายถึงอ่านเชื่อมกับประโยคหลัง صق หมายถึงอ่านเชื่อมกับประโยคก่อนหน้า[7]
อ้างอิงแก้ไข
- ستایشگر، مهدی. واژه نامهٔ موسیقی ایران زمین جلد اوّل. چاپ دوّم. تهران: اطلاعات، ۱۳۸۱. ISBN 964-423-305-0(جلد 1).
เชิงอรรถแก้ไข
- «تفاوت تجوید با قرائت» (فارسی). اندیشه قم. بازبینیشده در ۲۴ آذر ۱۳۸۶.
- ท่านอาซิม คือนักอ่านคนหนึ่งที่เลืองชื่อในโลกอิสลามپرش به بالا↑ عاصم یکی از هفت قراء مشهور جهان اسلام است.
- پرش به بالا↑ http://telavat.com/Tajvid/Tajvid.aspx
- پرش به بالا↑ دانشنامه جهان اسلام. سرواژه: تجوید
- پرش به بالا↑ ستایشگر، ۲۳۱
- پرش به بالا↑ الصافی، ج1، ص71؛ النشر، ج1، ص209؛ بحارالانوار، ج81، ص188
- پرش به بالا↑ تجویدالقرآن ازبیگلری
- ↑ แม่แบบ:یادکرد وب
- ↑ عاصم یکی از هفت قراء مشهور جهان اسلام است.
- ↑ http://telavat.com/Tajvid/Tajvid.aspx
- ↑ دانشنامه جهان اسلام. سرواژه: تجوید
- ↑ ستایشگر، ۲۳۱
- ↑ الصافی، ج1، ص71؛ النشر، ج1، ص209؛ بحارالانوار، ج81، ص188
- ↑ تجویدالقرآن ازبیگلری